องค์ประกอบของสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า สมรรถนะ เป็นความสามารถของครูที่พัฒนาขึ้นได้แก่ การศึกษา การฝึกอบรม และประสบการณ์ สมรรถนะจึงมีความสำคัญต่อผลการปฏิบัติงานของครู ได้แก่การคัดสรรบุคลากร การสร้างขวัญกำลังใจ การวัดและประเมินผล และการเพิ่มความรูทักษะ และความสามารถในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลและขอบข่ายการเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูในสถานศึกษา มี 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2) ด้านการบริหารหลักสูตร 3) ด้านการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ 4) ด้านการใช้สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ 5) ด้านบริหารจัดการชั้นเรียนและ 6) ด้านการวิจัยทางการศึกษาที่ส่งผลต่อความรู้และทักษะของครูและความสามารถของครูทั้งในด้านการเรียนรู้นวัตกรรม ด้านชีวิตและวิชาชีพ และ 3) ด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี รวมทั้งคุณลักษณะของครูที่แสดงออกมาที่ส่งผลต่อการทำงาน ได้แก่ ด้านความมุ่งมั่นในการทำงาน และด้านการใฝ่รู้ใฝ่เรียน และด้านการมีคุณธรรมและปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพและกระบวนการเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูในสถานศึกษา ได้แก่ 1) การกำหนดความต้องการ 2) การวิเคราะห์ความต้องการ 3) การออกแบบและ การวางแผน 4) การดำเนินการเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ และ 5) การประเมินผล
Article Details
References
กมลพัชร หินแก้ว. (2555). สมรรถนะหลักของผู้บริหารโรงเรียนกับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาเอกชนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). การปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
ขจรศักดิ์ ศิริมัย. (2555). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับสมรรถนะ. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ วันที่ 11 พฤษภาคม 2565. http://competency.rmutp.ac.th/
จิรพรรณ หิรัญวรเสฎฐ์. (2555). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม. (2553). การพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงาน : สมรรถนะหลัก (Competency). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ฉัตรชัย หวังมีจงมี. (2560). สมรรถนะของครูไทยในศตวรรษที่ 21 : ปรับการเรียนเปลี่ยนสมรรถนะ. Journal of HRintelligence. 12 (2), 47-63.
ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี. (2560). กรอบแนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรในศตวรรษที่ 21. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 12 (ฉบับพิเศษ), 168-186.
ชนกพร จุฑาสงฆ์. (2559). การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ชรอยวรรณ ประเสริฐผล. (2559). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของครูใหม่โรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 15 (ฉบับพิเศษ), 43 - 54.
ธนกฤต อั้งน้อย. (2563). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูใหม่ในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิดโรงเรียนเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ กศ.ด. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ธนานันท์ ดียิ่ง. (2556). โปรแกรมการพัฒนาสมรรถนะครูระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน มัธยมศึกษา เขต 33. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธนาพล บัวคำโคตร. (2563). แนวทางพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 7 (8), 89-103.
นันทกา วารินิน. (2557). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูสำหรับโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 2. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 7 (2), 1-13.
บันเย็น เพ็งกระจ่าง. (2561). การพัฒนาครูด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสารสาสนวิเทศ
คลองหลวง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกริก.
ประยูร บุญใช้. (2560). สมรรถนะการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของครูประถมศึกษา. วารสารเซนต์จอห์น. 20 (28), 240-258.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2554 (2556, หน้า 1,169)
พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ฉบับมติชน. (2554). แนวทางการพัฒนาจริยธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
พัทยา อ้วนลาน. (2562). ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะครูโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดนครชัยบุรินทร์. โรงเรียนบ้านเสม็ดโคกตาลสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
พีรวัตร จันทกุล. (2559). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 19 (3), 229- 237.
วนิดา ภูชำนิ. (2564). การพัฒนาสมรรถนะของครูเพื่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 : กรณีโรงเรียนบ้านนาตาลคำข่า. วิทยานิพนธ์ ค.ด. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
วรลักษณ คําหว่าง และนงลักษณ ใจฉลาด. (2559). แนวทางพัฒนาทักษะครูในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 6 (1), 129 - 138.
วาสนา บุญมาก. (2562). การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร. Journal of Education Naresuan University, 16(2), 214–216
สมฤทัย อยู่รอด. (2555). ความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะหลักของพนักงานมหาวิทยาลัย(สายสนับสนุน) สังกัดสำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2547). การปรับใช้สมรรถนะในการบริหาร. ทรัพยากรมนุษย์ เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่องสมรรถนะของข้าราชการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2548). สมรรถนะของข้าราชการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.
สำราญ กำจัดภัย. (2560). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาครูในการเตรียมฝึกปฏิบัติการสอนโดยใช้การเสริมสร้างพลังและการจัดการเรียนรู้เชิงรุก : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร.
สีมา สีมานันท์. (2553). การพัฒนาสมรรถนะองค์กร. มติชน. 23 พฤศจิกายน 2553.อรวรรณ ไชยชาญ. (2562). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่จำเป็นสำหรับครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในภาคตะวันออก. ปริญญานิพนธ์ ปร.ด. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.
อรอุมา รุ่งเiรืองวณิชกุล. (2556). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะครูนักวิจัยด้วยการบูรณาการกระบวนการเรียนรู้ สำหรับข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อัญชลี ปสันตา. (2562). แนวทางการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอในศตวรรษที่ 21. ปริญญานิพนธ์ ศษ.ด นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Anthony, W.P. (2001). Organization Theory: A Strategic Approach. Boston: Allyn & Bacon
Boam, R. and Sparrow, P. (1992). Designing and achieving competency. New York: McGraw Hill.
Clarke, C.M. (1999). Rationing scarce life-sustaining resource on the basis of age. Journal of Advanced Nursing, 35 (5), 799 - 804.
Dales, M. and Hes, K. (1995). Creating Training miracles. Sydney: Prentice Hall. Dubois, D.D, Rothwell, W.J. and Kemp, L.A. (2004). Competency-based human resource management. Palo Alto, CA: Davies-Black.
McClelland, D.C. (1973). Testing for competence rather than intelligence. American Psychologist, 28 (1), 1-14.
Mitrani, A., Dalziel, M., and Fitt, D. (1992). Competency based human resource management: Value driven strategies for recruitment, development, and reward. London: McGraw-Hill.
Scott, B.P. (1998). Evaluation the impact of Training Alexandria. VA: American Society for training and Development.
Sherman, S.J.; and Sherman, B.S. (2004). Science and Science teaching. Westport: Greenwood Press.
Spencer, L.M. and spencer, S.M., (1993). Competencies at Work: Model for superior Performance. New York: Wiley.