การพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพครู เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ การจัดการเรียนรู้สำหรับครู โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านยางโพรง

Main Article Content

อัญชลี แสงอาวุธ

บทคัดย่อ

          The objectives of this research were 1) to develop a model for teaching professional learning community; 2) to find the effectiveness of the teacher professional learning community model; Ban Yang Phong Border Patrol Police School, Chaiya District, Surat Thani Province; Carry out research according to the research and development process. The target groups for data collection are: 1) CO commanders There were 1 Border Patrol Police No. 412, 2 principals, and 10 teaching practitioners. The research tools were 1) a test of knowledge and ability in learning management; 2) an ability assessment form; 3) 4) Opinion assessment form towards the teacher professional learning community model The statistics used in the research were percentage, mean, standard deviation, correlation and t-test.
          The results of the study are as follows: 1. The results of the development of the learning community model for the teaching profession To strengthen the competency of learning management for teachers. Ban Yang Phong Border Patrol Police School The researcher has developed the PLEASE Model consisting of 6 steps: 11) Planning: P, 2) Leading Instruction: L, 3) Empowerment: E, 4) Assessment: A, 5) Standard: S, and 6) Evaluation: E. The results of the theoretical reasonableness and feasibility of the model from experts found that good level (mean = 4.20, S.D. = 0.45). 2. The results of the evaluation of the effectiveness index of the teacher professional learning community model To enhance the learning management competency for teachers, it was found that the value was 0.8462 or 84.62 percent, which showed that teachers had a higher development than before using the professional learning community model. 3. The competency assessment of teachers in managing learning by using the community-based professional learning model showed a significant improvement compared to before the model was used.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กเชษฐ์ กิ่งชนะ. (2562). รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือการจัดการอาชีวศึกษาในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน จังหวัดเชียงราย. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง. 8 (2), 75-91.

เกรียงศักดิ์ สังข์ชัย. (2552). การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอนครูวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีแววความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วนิดา ยาณรักษา, ชวลิต สูงใหญ่ และธีรเชษฐ์ เรืองสุขอนันต์. (2564). การพัฒนารูปแบบการนิเทศที่เน้นการเป็นพี่เลี้ยงทางวิชาการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูนานาชาติ. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ศรีนครินทรวิโรฒ. 22 (2), 167-187.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสดศรี-. สฤษดิ์วงศ์.

สกุลการ สังข์ทอง. (2562). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ MECCA เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สนอง โลหิตวิเศษ. (2561). สารานุกรมศึกษาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2563). คู่มือประกอบการอบรม การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” สู่สถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาชั้นพื้นฐาน.