การพัฒนาภาพลักษณ์ทัวร์ช้างไทยเพื่อความบันเทิงในการท่องเที่ยว

Main Article Content

ปัญญาดา นาดี
ณัฐธพร เซิบรัมย์

บทคัดย่อ

          บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาหาสถานการณ์และภาพลักษณ์ของการท่องเที่ยวช้างไทย เนื่องจากช้างเป็นสัตว์ที่เข้ามามีบทบาทสำคัญกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศอย่างมาก แต่ในปัจจุบันพบว่าปางช้างบางแห่ง ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการปฏิบัติที่ดี ในเรื่องของการเลี้ยงช้างที่ถูกต้องและเหมาะสม เนื่องจากไม่ได้คำนึงถึงคุณภาพชีวิตของสัตว์ จึงส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวช้างในประเทศไทย ว่าเป็นการทารุณกรรมสัตว์ เมื่อทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงปัญหา จึงเริ่มมีการแก้ไข เช่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้เร่งดำเนินการ (ร่าง) มาตรฐานสินค้าเกษตร จนแล้วเสร็จซึ่งมีการบังคับใช้อันประกอบไปด้วย 1. องค์ประกอบปางช้าง 2. การจัดการปางช้าง 3. บุคลากร 4. สุขภาพช้าง 5. สวัสดิภาพสัตว์ 6. สิ่งแวดล้อม 7. การจัดการด้านความปลอดภัย 8. การบันทึก สำหรับมาตรฐานนี้ถือว่าเป็นการพัฒนายกระดับกิจกรรมของปางช้าง และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักท่องเที่ยวอีกครั้ง รวมถึงสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับประเทศไทย เพื่อรองรับเทรนด์การท่องเที่ยวหลังจากที่วิกฤติโควิด-19 (Covid-19) คลี่คลายลง โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจากยุโรปและอเมริกาที่ให้ความสำคัญกับเรื่องสวัสดิภาพสัตว์อย่างมาก

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จิรายุทธ์ สนดา. (2557). ภาพลักษณ์ของการท่องเที่ยว และการรับรู้การประชาสัมพันธ์ทางการตลาด ที่ส่งผลต่อการกลับมา เที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยวไทยในจังหวัดจันทบุรี. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/1880/1/jirayut_sond.pdf

ถาวร กนกวลีวงศ์. (ม.ป.ป.). ภาพลักษณ์ของประเทศนั้น. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/PDF

ณัฎฐดา ภูกิจ. (2018). ความแตกต่างระหว่างช้างเอเชียกับช้างแอฟริกา. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/africanelephantbehavior/-compare

ทักษิณา ข่ายแก้ว. (2018). ไขความลับสายพันธุ์ช้าง. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: http://https://www.voathai.com/a/4293466.html

โรจนา สังข์ทอง. (2564, 24 มกราคม). โควิดระลอกใหม่ ซ้ำเติมวิกฤติช้างบ้าน. Thai post. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: https://www.thaipost.net/main/detail/90872

ปัญจเดช สิงห์โท. (2564). วอนเร่งผลักดัน พ.ร.บ.ปกป้องช้างไทย. เชียงใหม่นิวส์. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: https://www.chiangmainews.co.th /page/archives/ 1721472/

ประชากรช้างป่าเอเชีย. (2020). ความรู้ทั่วไปเรื่องช้างป่าเอเชีย. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: http://https://humanelephantvoices.org/about-asian-elephants/

เพ็ญรุ่ง ใยสามเสน. (2563). ททท. รุกทำ ELEPHANT CARE TOURISM ปี’ 63. มติชนออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: https://www.matichon.co.th/publicize/ news_1945162

มาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์. (2550). ช้างไทยใกล้สูญพันธุ์ คนไทยต้องช่วยกันอนุรักษ์ (1000 เล่ม). ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: http://eduserv.ku.ac.th/km/doc/K8023.pdf

มติชนออนไลน์ . (2564). องค์กรพิทักษ์สัตว์แห่งโลกติงร่างมาตรฐานปางช้าง มกอช.. มติชน. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: https://www.matichon.co.th/local/quality-life/news _2605067

มนสิช สิทธิสมบูรณ์. (2563). มโนทัศน์การสร้างภาพลักษณ์องค์กร. . ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: https://so02.tci-thaijo.org/index.php/Pitchayatat/article/download/241635/ 164220/

มูลนิธิ Save Elephant . (2020). Save Elephant Foundation. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: http://https://www.facebook.com/DNP.Wildlife/?__tn__=kK*F

ศรีสุดา วนภิญโญศักดิ์ . (2563). Exclusive Content. [ฉบับอิเล็กทรอนิกส์]. TNN ONLINE. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: https://www.tnnthailand.com/news/tnnexclusive /28049/

องค์กรพิทักษ์สัตว์แห่งโลก . (2020). เปิดโปงวิดีโอกระบวนการฝึกช้างที่โหดร้ายทารุณ. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: http://https://www.worldanimalprotection.or.th/cruel-elephant -training-process

เอกพล บรรลือ. (2560, 7 มิถุนายน). ช้างไทยครองแชมป์ถูกทรมานเพื่อการท่องเที่ยวมากที่สุดในเอเชีย. the standard. สืบค้น 22 สิงหาคม 2564, จาก https://thestandard.co/news-thailand-elephants-used-in-tourism/

MGR Online. (2560). ฝรั่งประจานทัวร์ขี่ช้างไทย.MGR Online. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: https://m.mgronline.com/live/detail/9600000018128

Greensท่องเที่ยวสดใสใส่ใจสิ่งแวดล้อม. (2563). ช้างไทย คนไทย กับภัยโควิด-19. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: http://https://7greens.tourismthailand.org/green-story/article /help-thai-elephants/

Sanook Campus. (2564). ประวัติ . ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: http://https:// www.sanook.com/campus/1401191/

TNNONLINE. (2563, 4กุมภาพันธ์). Exclusive Content: "Elephant Care Tourism"อนาคตท่องเที่ยวช้างไทย. TNNThailand. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: https://www.tnnthailand.com/news/tnnexclusive/28049/

World Animal Protection Thailand. (2019). ปางช้างที่เป็นมิตรกับช้างและคำแนะนำสำหรับนักท่องเที่ยว. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา: http://https://www. worldanimalprotection.or.th/elephant-friendly-guid