บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สหวิทยาเขตนวลจันทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สหวิทยาเขตนวลจันทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 จำแนกตาม ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดของสถานศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือครูในสถานศึกษาสหวิทยาเขตนวลจันทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ในปีการศึกษา 2564 จำนวน 217 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของครูที่มีต่อบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สหวิทยาเขตนวลจันทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์หาค่าความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า
1) ความคิดเห็นของครูที่มีต่อบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สหวิทยาเขตนวลจันทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 มีความคิดเห็น โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สหวิทยาเขตนวลจันทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 พบว่าครูที่มีระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดของสถานศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สหวิทยาเขตนวลจันทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภา
กรองทอง จิรเดชากุล. (2550). คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร: ธารอักษร.
ธีรศักดิ์ สงเดช.(2556). รายงานผลการพัฒนาครูเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านท่ามิหรา โดยใช้กลยุทธ์การนิเทศภายใน. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2564. แหล่งที่มา: www.phatthalung pao.go.th
เนรัญชญาดา หอมทิพย์. (2557). ความต้องการการนิเทศการสอนของครูโรงเรียนเทศบาล แหลมฉบัง 1 อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.
บูชิตา จันทร์สิงค์โท. (2558). บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
ปนัดดา ศิริพัฒนกุล. (2558). การศึกษาบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด. วิทยานิพนธ์คุรุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
ไพรินทร์ เหมบุตร. (2553). การใช้สื่อการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
เมธินี สะไร. (2560). การนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มสหพัฒนา อำเภอรือเสาะ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, ยะลาระบบสารสนเทศเพื่อบริหารการศึกษา. (2560). ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2564. แหล่งที่มา: http://www.sk3.go.th/
รัชฎาภรณ์ อัมพลพ. (2557). การศึกษาการดำเนินงานการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
รุ่งอรุณ ต๊ะต้องใจ. (2559). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการนิเทศภายในโรงเรียนเครือข่ายที่ 33 สังกัดสำนักงานเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วไลรัตน์ บุญสวัสดิ์. (2540). หลักการนิเทศการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพร้าว.
สุดา ภักดีอิ่ม. (2560). การดำเนินงานนิเทศภายในของสถานศึกษาในกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ การจัดการศึกษากลุ่มที่ 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานีเขต 1. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2565. แหล่งที่มา: http://61.19.238.50/StudentServe/input /thesis/ [1][100916115644].pdf
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2547). การเรียนรู้บูรณาการ : ยุทธศาสตร์ครูปฏิรูป. กรุงเทพมหานคร: อุษาการพิมพ์.
หะมะสูติง มามะ. (2556). บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดยะลา.วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย: วิทยาลัยอิสลามศึกษา.
Best W. John.(1997). Research in Education. Boston MA. : Allyn and Bacon.
Cohen, L., Manion, L., & Morrison, K. (2011).Research methods in education. 7th ed. New York: Routledge
Glickman, C.D. Gordon, S.P. and Ross-Gordon, J.M. (2007). Supervision and Instructional Leadership: A Developmental approach. 7th ed. Boston: Allyn & Bacon.
Glickman, C.D. Gordon, S.P. and Ross-Gordon, J.M. (2007). Supervision and Supervision and Curriculum Development. 135-148. Instructional Leadership : A Developmental Approach.7th Ed. Boston : Allyn & Bacon.