องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์มุมมองการจัดการภาครัฐใหม่ เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า การพัฒนาระบบราชการมีเหตุผลหลักที่สำคัญจากปัญหาของระบบราชการไทยที่มีหลายประการและสั่งสมมานาน และกระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องนำหลักการบริหารที่มีความหลากหลายในรูปแบบที่ทันสมัยใหม่ กล่าวคือ การบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสมัยใหม่ภายใต้การบริหารจัดการระดับองค์กร และภายใต้การบริหารเชิงปฏิบัติการ ที่กล่าวมาแล้ว มาเป็นแนวทางเพื่อพัฒนาการทำงานในองค์กรที่เป็นแบบใหม่พร้อมกับมีการส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้าง การบริหารงาน จนสามารถตอบสนองต่อความต้องการขั้นพื้นฐานของประชาชนในเขตพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง เป็นธรรม และยังจะทำให้องค์กรของตนเองมีหลักการบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Article Details
References
โกวิทย์ พวงงาม. (2550). การปกครองท้องถิ่นว่าด้วยทฤษฎีแนวคิดและหลักการ. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท.
โกวิทย์ พวงงาม. (2553). การจัดการตนเองของชุมชนและท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.
โกวิทย์ พวงงาม. (2562). การจัดการตนเองของชุมชนและท้องถิ่น. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: ธรรมสาร.
ฐานปนา ฉิ่นไพศาล. (2559). องค์การและการจัดการ. นนทบุรี: ธนธัชการพิมพ์.
ณรงค์ เชื้อเย็น. (2560). การบริหารองค์กรเทศบาลในศตวรรษใหม่. ลำพูล: เทศบาลตำบลบ้านแป้น.
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2554). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: แซท โฟร์ พริ้นติ้ง.
บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ และคณะ. (2564). การบริหารงานภาครัฐ. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2564. แหล่งที่มา: http://www. wiki.kpi.ac.th/.
เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2556). การจัดการภาครัฐแนวใหม่. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ์.
วสันต์ เหลืองประภัสร์. (2548). การจัดการภาครัฐแนวใหม่กับการบริหารการปกครองในระบอบประชาธิปไตย : สองกระแสความคิดในการบริหารงานภาครัฐ ลูกค้า หรือ พลเมือง. รัฐศาสตร์สาร. 26 (2), 35-86.
วุฒิสาร ตันไชย. (2552). ยุทธศาสตร์การปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: เอ็กเปอร์เนท.
Hood, c. (1991). A public management for all seasons. Public Administration. 69, 3 -19.