องค์ประกอบของทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา

Main Article Content

นัฐกฤตา เกียรติกาญจน์
ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย
ณัฐกานต์ ประจัญบาน

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงเพื่อพัฒนาองค์ประกอบและยืนยันตัวประกอบทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา เป็นการวิจัยเอกสารดำเนินการ 2 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 10 แหล่ง โดยเลือกองค์ประกอบที่มีความถี่ตั้งแต่ร้อยละ 70 เพื่อสังเคราะห์องค์ประกอบทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) ยืนยันองค์ประกอบทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโดยผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีประสบการณ์ด้านการบริหารการศึกษาจำนวน 5 คน โดยใช้แบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบมีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ ผลการวิจัยพบว่า ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา มี 3 องค์ประกอบ 11 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) การสังเกต มี 5 ตัวชี้วัด (2) ) การเชื่อมโยงมี 3 ตัวชี้วัด (3) การมีความรู้ทางเทคนิค มี 3 ตัวชี้วัด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กมลพรรณ วุฒิอำพล. (2562). ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชาญณรงค์ วิเศษสัตย์. (2561). แนวทางการจัดการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของ

นักศึกษาวิชาชีพครู. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เวฬุรีย์ เมธาวินิจ. (2552). นโยบายทางวัฒนธรรมต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ กรณีศึกษา จากสหราชอาณาจักร. กรุงเทพมหานคร: สุมนพับลิชชิ่ง.

ศศิมา สุขสว่าง (2562). การพัฒนาความคิดเชิงนวัตกรรม (Innovative Thinking) เพื่อพัฒนานวัตกรรม

ในองค์กร. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2564. แหล่งที่มา: https://www.sasimasuk. com.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564. กรุงเทพมหานคร: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2560-2569. กรุงเทพมหานคร: บริษัทพริกไทยหวาน จำกัด.

อรชร ปราจันทร์. (2560). รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูในสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อนุชิต โฉมศรี. (2562). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากลในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Bush, T. (2011). Theories of educational leadership and Chapman. I15Panagement. London: Paul.

Hoidn, S., & Karkkaunen, K. (2014). Promoting skill for innovation in higher education : A literature review on the effectiveness of problem-based leaning and of teaching behaviors. N.P.: OECD Education Working Paper.

IBSA. (2009). Developing innovation skills. Australia: Department of Education, Employment

and workplace Relations.

Lee Chong Joanna, S.K., & Benza, Ron. (2015). Teaching innovation skill: Application of design thinking in graduate marketing course. Business Education Innovation Journal.

Sheninger, E C. Pillars of Digital Leadership. International Center for Leadership in Education,2014; 4-1.

Swallow Erica. (2012). Can Innovative Thinking Be Learned. Forbes. online. April, 19 2021. From: https://www.forbes.com/sites/ericaswallow /2012/04/19 /innovators-dna-hal-gregersen-interview/?sh=864123845782.