การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์

Main Article Content

จตุรภัทร มาศโสภา
ธารทิพย์ ขุนทอง
อภิชาติ สังข์ทอง

บทคัดย่อ

          งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อพัฒนาการความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  2) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์กลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนเกษมพิทยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ที่มีปัญหาความสามารถความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์จำนวน 12 คนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจำนวน 10 คน ตามลำดับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ จำนวน 6 แผน 12 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน      
          ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 12 คน หลังจบวงจรปฏิบัติการที่ 2 มีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70  จำนวน 3 คน  2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์
ร้อยละ 70 จำนวน 10 คน หลังจบวงจรปฏิบัติการที่ 2 มีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 เหลือ
 


 


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Chamrat, S. (2018). The Definition of STEM and Key Features of STEM Education Learning Activity. Journal STOU Education. 10 (2),13–34. [in Thai]

Debby,A. C,.& Virginia, J. M,. (2004). The 6E Learning Model The “E-search” add A Modern Component to the Popular 5-E Learning Model. Online. Retrieved June 6 2019. Available from :https://www.scribd.com/doc/289992866/6e-learning-model

Insupan, R,. & Nuangchalerm, P. (2020). A Development of Scientific Creativity Thinking and Learning Achievemen to Mathayomsuksa 4 Students Through Inquiry-based STEM Learning. Journal of Yala Rajabhat University. 15 (2), 162-170. [in Thai]

Jitrach, C., & Tanunchaibutra, P. (2020). The Development of Problem Solving

Ability and Creative Thinking Using STEM-6E Learning with Social Media in Biology of 10 Grade Students. In Prof. Dr. Surasakdi Wongratanacheewin, The 21 st National Graduate Research Conference 2020, Khon Kaen University, Thailand. [in Thai]

Konechaiyaphum, P, Srikunlaya,S & Rakrai ,W.(2017). A Development of Activity-based Learning with the STEM Education on the Photosynthesis Issue to Promote Students Learning Achievements and System Sthinking Abilities. European Journal of Education Studies, 3 (4), 466- 484.

Lin, C., Hu, W., Adey, P., & Shen, J. (2003). The Influence of CASE on Scientific Creativity. Journal Research in Science Education, 33 (2), 143–162.

Office of the Civil Service Commission. (2016). E-book creative thinking. Online. Retrieved June 6 2019. Available from : https://www.ocsc.go.th/sites/default/

files/document/ocsc-2017-eb13.pdf. [in Thai]

Prasertsang, P.(2019). Stem Education Activity Design for Creative Problem-Solving Skills of Secondary School Students. Prae-wa Kalasin Journal of Kalasin University. 6 (3). 383-395. [in Thai]

Polyiem, T. (2018). STEM Education: Introduction to Integrated Classroom. Journal of Faculty of Education Pibulsongkram Rajabhat University, 5 (2), 122-135. [in Thai]

Taimaung, S.,Thongsorn,P. & Sirisawat,C.(2019). The Development of Science Learning Activity Package by Applying The STEM Education Concept to Develop the Creativity and Scientific Mind for Grade Eight Students. Rajabhat Rambhai Barni Research Journal,14 (2),23-33.[in Thai]

Tuntirojanawong, S. (2019). A Direction of Educational Management in the 21st Century. Journal Silpakorn University, 10 (2), 2843-2854. [in Thai]