การจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานกับกิจกรรมพหุปัญญา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันนี้ มีการพัฒนารูปแบบหรือวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยเน้นการลงมือปฏิบัติของผู้เรียนเป็นหลัก ผู้เรียนจำเป็นต้องพัฒนาและปรับตัวเองให้มีทักษะในการแสวงหาความรู้ การคิด การสร้างสรรค์ มีความกระตือรือร้น ใฝ่เรียนรู้ พัฒนาศักยภาพของตนที่มีอยู่ให้เพิ่มพูนมากยิ่งขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันของประเทศชาติ การเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (CBI) ซึ่งมี 5 ขั้นตอน เป็นกระบวนการเรียนรู้แบบหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาผู้เรียนให้ไปถึงเป้าหมายนั้น และเมื่อได้นำการจัดกิจกรรมตามทฤษฎีพหุปัญญา ซึ่งกล่าวถึงความสามารถทางสติปัญญาที่หลากหลายมาใช้ประกอบกันในการจัดกิจกรรมทั้ง 5 ขั้นตอน จะช่วยทำให้การจัดการเรียนรู้นั้นประสบความสำเร็จมากยิ่งขึ้น ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ในเรื่องที่เรียนอย่างเต็มที่ประกอบกับได้พัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ และความสามารถทางสติปัญญาที่หลากหลายได้รอบด้านมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะเหล่านั้นติดตัวไปใช้ในการดำรงชีวิตได้เป็นอย่างดี
Article Details
References
ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา. (2560). ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences). ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2564. แหล่งที่มา: https://www.happyhomeclinic.com/Download/article/ a01-multiple%20intelligence.pdf.
นรรัชต์ ฝันเชียร. (2563). ทฤษฎีพหุปัญญาสู่การเข้าถึงอัจฉริยภาพของนักเรียนทุกคน. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2564. แหล่งที่มา: https://www.trueplookpanya.com/blog/content/78233/-blog-teaartedu-teaart-.
วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. (2558). การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน Creativity-based Learning (CBL).
วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้. 1 (2), 23-38.
ศิริญาพร ปรีชา. (2558). การประยุกต์รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน.เอกสารประกอบการประชุมวิชาการการเรียนรู้เชิงรุก “นวัตกรรมการเรียนรู้.” 14-15 พฤษภาคม 2558. สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. ม.ป.ท.
สมศักดิ์ คงเที่ยง. (2560). การศึกษาเพื่อประเทศไทย. วารสารรามคำแหงฉบับศึกษาศาสตร์. 1 (1), 41-49.
สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์. (2560 ก). กระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน ในกระบวนวิชา CEE2205 ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็ก. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์. 32 (2), 1-8.
สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์. (2560 ข). กระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน ในกระบวนวิชา CEE2205 ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็ก. คณะศึกษาศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อนรรฆ สมพงษ์ และลดาวัลย์ มะลิไทย. (2560). การศึกษาการจัดการเรียนการสอนโดยวิธีการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity Based Learning: CBL) ในรายวิชาการศึกษาเอกสารและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2564. แหล่งที่มา: https://www.slideshare.net/ EmmyNichanan/cbl-77494336.
Cherry, K. (2021). Gardner's Theory of Multiple Intelligences. (2nd ed.). Online. Retrieved August 30, 2021. from: https://www.verywellmind.com/gardners-theory-of-multiple-intelligences-2795161
Kurt, S. (2020). Theory of Multiple Intelligences – Gardner," in Educational Technology, December 19, 2020. Online. Retrieved July 10, 2021. from: https://educational technology.net/theory-of-multiple-intelligences-gardner/.
Gardner, H. (1999). Intelligence Reframed: Multiple Intelligences For The 21st Century. Online. Retrieved July 10, 2021. from : https://www.amazon.com/Intelligence- Reframed-Multiple-IntelligencesCentury/dp/0465026109%3FSubscriptionId%3DA KIAIXFKFJI6IH6DO5KQ%26tag%3Dkirkus20%26linkCode%3Dxm2%26camp%3D2025%26creative%3D165953%26creativeASIN%3D0465026109.