สื่อและกลวิธีในการสอนภาษาอังกฤษสำหรับเด็กประถมศึกษา

Main Article Content

มารีณีย์ ซี่เลี่ยง
ธนาธิป มะโนคำ

บทคัดย่อ

          ปัจจุบันภาษาอังกฤษมีความสำคัญและเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน การจัดสื่อและกลวิธีในการสอนภาษาอังกฤษที่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียนเป็นการจัดการเรียนรู้ที่ให้ความสำคัญกับผู้เรียนแต่ละคน โดยเฉพาะเด็กระดับประถมศึกษาหากได้รับการปูพื้นฐานความรู้และมีเจตคติติที่ดีต่อการเรียนภาษาจะช่วยให้สามารถฝึกทักษะภาษาอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้สอนจึงจำเป็นต้องมีการวางแผนและมีความรู้ในการใช้กลวิธีและเทคนิคในการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน รวมถึงมีการใช้สื่อร่วมกับการทำกิจกรรมที่สอดคล้องกับเนื้อหาในบทเรียน ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้และทักษะทางด้านการพูด การฟัง การอ่านและการเขียนได้อย่างครบถ้วน อันจะทำให้ผู้เรียนมีพื้นฐานด้านภาษาที่ดี เกิดความมั่นใจและสามารถนำความรู้ในด้านภาษาไปต่อยอดในการพัฒนาความรู้ พัฒนาตนเอง และใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคต

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมวิชาการ. (2544). เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสำคัญที่สุด: การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิซซิ่ง.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

กิดานันท์ มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทิศนา แขมมณี. (2548). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี. (2552). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นานมีบุ๊คส์. (2538). เกมสนุกฝึกภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2544). เทคนิคและการสอนอาชีวศึกษา. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดี.

ระวิวรรณ ศรีคร้ามครัน. (2553). หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร:

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

รัตนวดี โชติกพนิช. (2553). ปฏิบัติการสอนฟังและพูดภาษาอังกฤษก่อนการฝึกสอน. กรุงเทพมหานคร:

คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ศักดิ์ศรี ปาณะกุล. (2549). หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ศุภนิต อารีย์หทัยรัตน์. (2555). สื่อและกิจกรรมในการสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร:

คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุภาภรณ์ สิปปเวสม์. (2553). Smile 4. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์.

อบรม สินภิบาล. (2521). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

เอกรินทร์ สังข์ทอง. (2546) ผลงานนำเสนอเพื่อขอรับการประเมินประสิทธิภาพการสอนและการปฏิบัติหน้าที่อาจารย์. ปัตตานี: โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Berk, R. A. (2009). Multimedia teaching with video clips: TV, movies, YouTube, and mtvU in the college classroom. International Journal of Technology in Teaching and Learning. 5 (1), 1-21.

Boyle, M., & Gillies, R. M. (2009). Teachers’ reflections on cooperative learning: Issues of implementation. Queensland: Elsevier Ltd.

Chartrand, R. G. (2002). The Effectiveness of Using Computer Assisted Instruction in Teaching English as a Foreign Language in a Japanese Secondary School. Fukuoka: MA TESOL Collection.

Janssens, R. (1977). Stimulating Motivation through Audio-Visual Aids Based on English by Radio Vision. ELT Journal.

Lado, R., & Fries, C. (1973). English Pronunciation: Exercises in Sound Segments, Intonation, and Rhythm. Ann Arbor: The University of Michigan Press.

Li-shing, T. (1981). “English through Pictures” Forum, Vo. XIX, No. 4, October.

Moris, R. V. (2003). Acting out history: Students reach across time and space. International Journal of Social Education.

Rosova, V. (2007). The Use of Music in Teaching English. Brno: Masaryk University.

Trang, N. T. (2015). Using Pictures as Motivating Factors in Speaking Lessons. Hanoi: Vietnam International University.