คหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
Main Article Content
บทคัดย่อ
จากสัดส่วนผู้สูงอายุของประเทศไทยมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2548 กำลังจะก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ระดับสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2564 คาดว่า พ.ศ.2574 จะก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุระดับสุดยอด ซึ่งส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตของประชาชนโดยรวม โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ควรพัฒนาคุณภาพชีวิตให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ ไม่เป็นภาระผู้อื่น ทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น สังคมและประเทศชาติได้
คหกรรมศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ช่วยหล่อหลอมให้ทรัพยากรบุคคลมีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งในการดำรงชีวิต นำความรู้ความสามารถไปพัฒนากิจกรรมอย่างบูรณาการทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ โดยเฉพาะบทบาทพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ เช่น ปัจจัยด้านการศึกษาตลอดชีวิต ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยเกี่ยวกับสังคม การสร้างค่านิยมให้ผู้สูงอายุภูมิใจในตนเอง สร้างภาพพจน์ด้านบวก รู้วิธีปฏิบัติตนด้านรักษาสุขภาพ การบรรลุลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ที่ทำให้ชีวิตมีความสุขสมบูรณ์
คหกรรมศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยกิจกรรมได้หลายรูปแบบหรือการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาอาชีพที่เหมาะสมกับเพศ วัย ความสนใจ มีจุดมุ่งหมายให้เกิดความพึงพอใจทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และจิตใจ บนพื้นฐานทฤษฎีทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
Article Details
References
กุลยา ตันติพลาชีวะ. (2551). สูงวัยด้วยใจสุข. กรุงเทพมหานคร: เรืองปัญญา.
เกียรติวรรณ อมาตยกุล. (2553). Super change. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์.
เกียรติวรรณ อมาตยกุล. (2553). ชีวิตที่สดใส. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์.
คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2553). แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
จิตตรา มาคะผล. (2561). การศึกษาแนวทางส่งเสริมการทำงานเพื่อสร้างความสุขของผู้สูงอายุในอาเซียน.วารสารวิชาการ Veridian E-Journal,Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์
สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 11 (1), 1467-1486.
จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง. (2555). ผลการใช้โปรแกรมการฝึกอบรม เรื่อง ศิลปะประดิษฐ์สำหรับผู้สูงอายุในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบางแค กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการและวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. 6 (1), 69-80.
จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง. (2559). การพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมทักษะวิชาชีพด้านคหกรรมศาสตร์สำหรับผู้สูงอายุ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.10 (1), 49-67
นงลักษณ์ เทพสวัสดิ์. (2543). วิเคราะห์ปัญหาสำคัญในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นริสา วงศ์พนารักษ์ และ สายสมร เฉลยกิตติ. (2557). คุณภาพชีวิต : การศึกษาในผู้สูงอายุไทย. วารสารพยาบาลทหารบก. 15 (3), 64-70.
นิศารัตน์ ศิลปเดช. (2540). ประชากรกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต. กรุงเทพมหานคร: พิศิษฐ์การพิมพ์.
พรรณอร อุชุภาพ. (2561). การศึกษาและวิชาชีพครู. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พัชรพงษ์ ชวนชม และคณะ. (2561). ลักษณะงานที่เหมาะสมกับแรงงานผู้สูงอายุ. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 13 (1), 107-116.
ภัทรพงษ์ เกตุคล้าย และ วิทัศน์ จันทร์โพธิ์ศรี. (2555). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพ อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น. 19 (2), 55-64
ภาวิณี ศิริโรจน์. (2559). ชุดผลิตภัณฑ์ศิลปะประดิษฐ์เพื่อเป็นงานอดิเรกสำหรับผู้สูงอายุ. วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 7 (2), 83-96.
ภูริปัญญา เกิดศรี. (2553). ปัจจัยความสำเร็จในการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในเขตปฏิรูปที่ดิน : ศึกษากรณี ตำบลนิคมกระเสียว อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
เลิศ พรหิรัญ, (บรรณาธิการ). (2550). 80 พรรษา 80 พระบรมฉายาลักษณ์ ที่สุดแห่งความทรงจำของพสกนิกรชาวไทย. กรุงเทพมหานคร: สยามอินเตอร์บุ๊คส์.
วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ และ ศตพร เพียรวิมังสา. (2561). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในหมู่บ้านดอนเซ่ง ตำบลบางแพ อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal,Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 11 (1), 3144-3156.
ศรินยา สุริยะฉาย. (2552). การประเมินผลความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตในตำบลบางไทรป่า อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม.(2556). การดูแลผู้สูงอายุ ความสุขและความเครียด. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
สถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2560). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2560. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เดือนตุลา จำกัด.
สถิตพงษ์ มั่นหลำ. (2553). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุ เขตยานนายาว กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต (คหกรรมศาสตร์เพื่อพัฒนาชุมชน).บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สมพร เทพสิทธา. (2544). บทบาทของผู้สูงอายุในภาวะวิกฤต. กรุงเทพมหานคร: สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2556). มโนทัศน์ใหม่นิยามผู้สูงอายุและอายุการทำงานที่เหมาะสม. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2551). ผู้สูงอายุไทย 2550 มุมมอง/เสียงสะท้อนจากข้อมูลสถิติ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พี เอ.ลีฟวิ่ง จำกัด.
สิริชัย ดีเลิศ และ ศิริรัตน์ สีดา. (2561). กระบวนการส่งเสริมคุณภาพชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของหมู่บ้านเกษตรเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จ.เพชรบุรี. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal,Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 11 (1), 2425-2436.
สุรกุล เจนอบรม. (2541). วิสัยทัศน์ผู้สูงอายุและการศึกษานอกระบบสำหรับผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพมหานครภาควิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุไร ตันสกุล .(2544). โลกทัศน์วิชาชีพคหกรรมศาสตร์. ภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
Brooks, G.L. and Loewenstein, A.D.(2010). Assessing the progressive of mind cognitive impairment to Alzheimer’s disease: current trends and future directions. Alzheimer’s Research & Therpy.
Czaja, S.J. (1999). Technological Change and the Older Worker. Handbook of the Psychology
of Agining. Edited by Birren, J.E.& Schaie, K.W. 547-568. California: Academic Press.
Havighurst, Robert J. (1960). The psychology of character development. Newyork: Wiley.
Khaleel M. A. (2012). Strategizing to Strengthen the Economy: The Position of Vocational and Technical Education (Home Economics Education). A Paper Presented to the School of Vocational and Technical Education F.C.E, Zaria 6th March, 2012.
Maslow, A. (1991). Motivación y Personalidad [Motivation and Personality]. Madrid: Ediciones Diaz de Santos.
Neugarten, B. L., Havighaurst, and Tobin, S. S. (1968). Personality and Patterns of Aging. In
Neugarten (Ed.), Middle Age and Aging (pp. 173-180). Chicago: University of Chicago press.
Parker, F.J. (1990). Home Economics: An Introduction to a Dynamic Procession (3nd Ed.). New York: Macmillan Publishing Co, Inc.
Philip H. Coombs and Manzoor Ahmed (1974). Attacking Rural Poverty: How Nonformal Education Can Help. A World Bank Research Publication.
Salthouse, T. A., and Craik, F. I. M. (2000). Closing comments. In F. I. M. Craik & T. A. Salthouse (Eds.), The handbook of aging and cognition (2nd). Mahwah, NJ: Erlbaum.
Stuart-Hamilton, lan. (2012). The Psychology of Ageing (5th Ed). London, UK: Jessica Kingsley.
Thiele-Wittig, M. (1996). Neue Hausarbeit im Kontext der Bildung für Haushalts- und Lebensführung. In U. Oltersdorf & T. Preuß (Hrsg.), Haushalte an der Schwelle zum nächsten Jahrtausend. Aspekte haushaltswissenschaftlicher Forschung – gestern, heute, morgen (S. 342-362). Frankfurta. M.: Campus.