ปัจจัยเชิงเหตุและผลของนวัตกรรมแบบเปิดของร้านอาหารในประเทศไทย

Main Article Content

สันติ กระแจะจันทร์
ณัฐสพันธ์ เผ่าพันธุ์

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาปัจจัยของนวัตกรรมแบบเปิดของร้านอาหารในประเทศไทย (2) เพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างสาเหตุของนวัตกรรมแบบเปิดของร้านอาหารในประเทศไทย เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 510 ร้าน คัดเลือกร้านที่เปิดบริการมากกว่า 3 ปี ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสำรวจ และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้โปรแกรมทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
          ผลการวิจัยพบว่า (1) นวัตกรรมแบบเปิดขององค์กรและความคิดสร้างสรรค์ขององค์กร ส่งผลทางตรงต่อความได้เปรียบในการแข่งขันขององค์กร (2) รูปแบบความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างสาเหตุของนวัตกรรมแบบเปิดของร้านอาหารในประเทศไทย ประกอบด้วย การประสานงานกันระหว่างองค์กร มีการเปิดกว้างจากหน่วยงานภายนอก และมีนวัตกรรมที่สามารถใช้ประโยชน์ได้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2562). ธุรกิจร้านอาหาร. บทวิเคราะห์ธุรกิจ ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2562. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2563. แหล่งที่มา: https://www.dbd.go.th/download/ document_file/Statisic/2562/T26/T26_201902.pdf

ราชกิจจานุเบกษา. (2560). พระราชบัญญัติการบริการ. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 22 ตุลาคม 2562. แหล่งที่มา: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/082/T_0001.PDFaccess13/09/2019

ศูนย์เพื่อการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย. (2019). ภาพประกอบ. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 28 พ.ย.2562. แหล่งที่มา: http://thailandcompeti tiveness.org/home.php?lang=Th access 13/09/2019

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2563). “ปีแห่งความท้าทาย “ธุรกิจร้านอาหาร” รายกลาง-เล็กจะแข่งได้ต้องเพิ่มช่องทางเข้าถึง-แตกต่าง-ยืดหยุ่น”. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 28 มีนาคม 63. แหล่งที่มา: https://www. marketingoops.com/reports/industry-insight/thailand-food-and-restaurant-industry-2020/

สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2558). ยุทธศาสตร์เพื่อการแข่งขัน. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2562. แหล่งที่มา: http://www.tiger.co. th/integrated.php

Chesbrough, H. (2003). The era of open innovation. MIT Sloan Management Revie. 44 (3), 35-41.

Froehle, C.M., Roth, A.V., Chase, R.B. and Voss, C.A. (2001), “Antecedents of new service development effectiveness: an exploratory examination of strategic operations choices”, Journal of Service Research. 3 (1), 3-17.

Global Innovation Index. (2019). Global Innovation index 2019. report. Online. Retrieved 7 Septrmberl 2019. From: https://www.globalinnovationindex.org/gii-2019-report

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J. & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis. (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Hjalager, A.-M. (2010) Progress in Tourism Management: A Review of Innovation Research in Tourism. Tourism Management, 31, 1-12.

Ind, O. Iglesias, and S. Markovic. (2017). “The co-creation continuum: From tactical market research tool to strategic collaborative innovation method,” J. Brand Manage., 24 (4), 310–321.

Menor, L.J., Takikonda, M.V. and Sampson, S.E. (2002), “New service development: area for exploitation and exploration”, Journal of Operations Management. 20,135-157.

Sood and G. J. Tellis. (2005). “Technological evolution and radical innovation,” J. Marketing, 69 (3),152–168.

Stevens, Eric & Dimitriadis, Sergios. (2005). Managing the new service development process: Towards a systemic model. European Journal of Marketing. 39. 175-198.

West, J.; Gallagher, S. (2006). Challenges of open innovation: The paradox of firm investment in open-source software. R&D Manag, 36, 319–331.