ปัจจัยที่ส่งผลต่อความฉลาดทางอารมณ์

Main Article Content

วลัยพร ศรีรัตน์
สุขุม เฉลยทรัพย์
ชนะศึก นิชานนท์

บทคัดย่อ

          การเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ในปัจจุบันส่งผลให้บุคคลหรือองค์กรต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อที่จะสามารถนำพาตนเองหรือองค์กรดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถดำรงอยู่ได้และมีความสำเร็จในชีวิตนั้นนอกจากสติปัญญา (IQ) แล้วยังมีสิ่งสำคัญที่จะทำให้บุคคลหรือองค์กรสามารถอยู่กับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ได้ดีนั่นก็คือ ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ซึ่งผู้ที่มีความฉลาดทางอารมณ์นั้นเป็นผู้ที่มีทักษะทางอารมณ์ที่ได้รับการพัฒนาเป็นบุคคลที่รับรู้ เข้าใจ และจัดการกับความรู้สึกของตนเองได้ดี รวมทั้งเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น เป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยผลักดันให้บุคคลประสบความสำเร็จในการทำกิจกรรมตลอดช่วงชีวิตเริ่มจากการเรียน การทำงานและการดำเนินชีวิต เป็นผู้ที่สามารถมีสัมพันธภาพที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและส่งเสริมให้บุคคลประสบความสำเร็จในชีวิต ดังนั้นบทความนี้มีวัตุประสงค์ เพื่อเสนอปัจจัยที่ส่งผลต่อความฉลาดทางอารมณ์ นำไปเป็นแนวทางพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ตนเองและผู้อื่น ซึ่งจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความฉลาดทางอารมณ์ประกอบด้วย 4 ปัจจัย ได้แก่ 1) การอบรมเลี้ยงดู 2) บุคลิกภาพ 3) การใช้อำนาจ และ 4) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมสุขภาพจิต. (2550). อีคิว: ความฉลาดทางอารมณ์ (ฉบับปรับปรุง). นนทบุรี: สำนักพัฒนาสุขภาพจิต

กรมสุขภาพจิต.

กษิภณ ชินวงศ์. (2550). การใช้อำนาจของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 3. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.

คัดนางค์ มณีศรี. (2556). จิตวิทยาทั่วไป (General Psychology).(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จุฬาลักษณ์ สมภารวงค์. (2552). เชาวน์อารมณ์ รูปแบบการอบรมเลี้ยงดูของบิดามารดากับการจัดการ

ความขัดแย้งของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคนิคดอนเมือง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาชุมชน ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ชาคริต มานพ. (2550). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของนักเรียนเตรียมทหาร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทศพร ประเสริฐ. (2545). ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์กบการศึกษา. วารสารพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 5 (1), 19-35.

ธร สุนทรายุทธ. (2556). ทฤษฎีองค์กรและพฤติกรรม: หลักการทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติการทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: เนติกุลการพิมพ์.

ภัทริยา จันทร์เพ็ญ. (2552). การศึกษาเปรียบเทียบการอบรมเลี้ยงดูกับการปลุกฝังการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่เด็กปฐมวัย กรณีศึกษา โรงเรียนอนุบาลเปล่งประสิทธิ์ศรีนครินทร์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ คณะศึกษาศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

มัณฑิรา เกิดพิพัฒน์. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ บุคลิกภาพที่มีต่อพฤติกรรมมุ่งผลสัมฤทธิ์ของพนักงานสายงานตลาดและการขาย บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร.

ศศิธร บริสุทธิ์นฤดม. (2557). คุณลักษณะของผู้ควบคุมงานด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการก่อสร้าง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัญฑิต สาขาวิชาการจัดการโครงก่อสร้าง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศิริพร ประโยค. (2542). ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของบุคลิกภาพ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับผลการปฏิบัติงานของหัวหน้างานระดับกลางในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์กรณีศึกษา บริษัท รีท-ไรท์ (ประเทศไทย) จำกัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ ภาควิชาจิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สัญชัย ฉลาดคิด. (2549). การใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาอำเภอศรีราชา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุกัญญา วงศ์บุญเนตร์. (2552). การศึกษาเปรียบเทียบการอบรมเลี้ยงดูที่ส่งผลต่อการบรรลุงานตามขั้นพัฒนาการของนักเรียนวัยเด็กตอนกลาง โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ คณะศึกษาศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุพรรณ แก้วกัณหา. (2547). การใช้อำนาจของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน

การประถมศึกษา อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา

การบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.

อวยชัย จาตุรพันธ์. (2554). การใช้อำนาจของผู้บริหารกับบรรยากาศองค์การของสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Allen, B.P. (1997). Personality Theories. (2nd ed.). Boston: A Viacom Company.

Atkinson, J. W. (1966). Motives in Fantasy, Action, and Society. New Delhi: Affiliated East-West Press Company.

Atkinson, J.W. (1964). An Introduction to Motivation. Princeton: D. Van Nostrand.

Bandura, A. (1997). Social Learning Theory. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall.

Bierstedt, R. (1974). Essays on socialogical theory. New York: McGraw-Hill.

Costa, P.T. and McCrae, R.R. (1995). Revised NEO Personality Inventory (NEO-PI-R) and NEO Five-Factor Inventory (NEO-FFI). Florida: Psychological Assessment Resources.

French, J. R. P., & Raven, B. H. (1968). The bases of power. New York: McGraw-Hill.

Heffron, F. A. (1989). Organization theory and public organization. New Jersey: Prentice- Hall

Hjelle, L.A. and Ziegler, D.J. (1992). Personality theories. Singapore: McGraw-Hill.

Hurlock, E.B. (1973). Personality development. New York: McGraw-Hill.

McClelland, D.C. (1961). The Achieving Society. New York: The Free Press.

Morris, C.G., and Moisto, A.A. (2002). Psychology : An introduction. (11th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

Morrison, G.S. (1990). The world of child development. New York: Delmar Publisher.

Newstrom, J. W. & Davis, K. (1993). Organizational Behavior: Human Behavior At Work. (9th ed.) New York: Mcgraw - Hill.

Robbins, S. P. (1994). Organization behavior controversies and application (4th ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Roger, D. (1972). Issue in Adolescent Psychology. New York: Mcredith Cooperation

Spence, J.T., and Helmreich, R.L. (1983). Achievement Related Motives and Behavior.

San Francisco: W.H. Freeman.