การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการในชั้นเรียน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการของการเรียนการสอนในชั้นเรียนและแนวทางบูรณาการการเรียนการสอนในชั้นเรียน จากการวิเคราะห์พบว่า การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ เป็นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนผู้สอนต้องใช้วิธีการที่หลากหลายด้วยการสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ศรัทธาและมีความเป็นมิตรโดยจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันแสวงหาแหล่งการเรียนรู้และความรู้ที่หลากหลายสามารถเชื่อมโยงประสบการณ์เรียนรู้ที่ได้รับในชั้นเรียนไปสู่บริบทแห่งความเป็นจริงเพื่อไปสู่จุดหมายที่แท้จริงได้
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
พูนสุข อุดม. (2546). การพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตร์แบบพหุวิทยาการร่วมกับวิชาคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษสาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยตรัง. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ยุทธกรณ์ ก่อศิลป์ . (2555). การพัฒนาความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและผลสัมฤทธิทางการเรียนตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ โดยใช้เทคนิคแผนผังทางปัญญารายวิชา ส32103 สังคมศึกษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่¬5/16 โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัญฑิต (หลักสูตรและการสอน). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศุภลักษณ์ ทองจีน. (2558). นวัตกรรมการเรียนรู้ Innovation Learning. อุดรธานี: ศูนย์การศึกษาบึงกาฬมหาวิยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
สุวิทย์ มูลคํา และคณะ. (2554). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่¬เน้นการคิด. กรุงเทพมหานคร: อี เคบุ๊คส์.
อมร ปรางค์น้อย. (2542). การสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมในการสอนวิชาชีพทางด้านศิลปะประจำชาติ. ปทุมธานี: คณะศิลปกรรมสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
Forgarty, R. (1991). The Mindful School: How Integrated the Curricula. Illinois : skylight Training and Publishing.