การจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21

Main Article Content

พระสิทธิชัย รินฤทธิ์
สุรีพร ชาบุตรบุณฑริก

บทคัดย่อ

          การจัดการเรียนการสอนถือเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้การสอนในรายวิชาต่าง ๆ มีประสิทธิภาพต่อผู้สอนและผู้เรียนเป็นอย่างมาก ในศตวรรษที่ 21 มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคมอย่างรวดเร็ว การจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21 จึงจำเป็นที่จะต้องมีหลักการ กระบวนการ และวิธีการต่าง ๆ ที่จะพัฒนาทักษะผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง มีการลงมือปฏิบัติ มีทักษะในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นความรู้ คุณธรรม จริยธรรม การอยู่ร่วมกันกับคนในสังคม การจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษาต้องมีการบูรณาการกับวิชาอื่น ๆ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ ที่จะนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ ที่ตัวผู้เรียนสามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตจริงอย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุข

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ขวัญชัย ขัวนา และคณะ. (2562). การจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21. วารสาร บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 16 (73), 13–22
นวพร ชลารักษ์. (2558). บทบาทของครูกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัย ฟาร์อีสเทอร์น. 9 (1), 64–71.
รพีพัฒน์ หาญโสภา และคณะ. (2563). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 : ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. วารสารวิชาการ ธรรมทรรศน์. 20 (2), 163–172.
วิจารณ์ พานิช. (2556). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: บริษัท ตถาตา พับลิเคชั่น.
วิภาพรรณ พินลา. (2560). แนวทางการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ. 30 (1), 13–34.
Office of Learning and Youth Quality Promotion. (2012). New Future Skills: How to learn in the 21st Century. Online. Retrieved on August 8, 2020 from http://qlf.or.th/home/Contents /417.