การจัดการความรู้: กระบวนการพัฒนาคนและการพัฒนางาน

Main Article Content

พระพนมภรณ์ ฐานิสสโร
ชาตรี เพ็งทำ
พระมหาวัฒนา สุรจิตฺโต

บทคัดย่อ

          ปัจจุบันองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความสำคัญกับการจัดการความรู้ หัวใจของการจัดการความรู้ คือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำมารวบรวม และประมวลอย่างเป็นระบบ ในการจัดการความรู้ คนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายกระบวนการจัดการความรู้ ที่นอกจากจะพัฒนาความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานขององค์การแล้ว ยังก่อให้เกิดประสิทธิผลการทำงานของบุคลากรโดยก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของบุคลากร การทำงานเป็นทีม จากกระบวนการรวบรวมความรู้ขององค์การจากบุคลากรทุกคนทุกฝ่ายทำเก็บให้เป็นระบบ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จันทร์เพ็ญ จันทวี. (2550). บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการจัดการความรู้. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยธนบุรี. 1 (1), 25–29.
ประพนธ์ ผาสุขยืด. (2547). การจัดการความรู้ฉบับมือใหม่หัดขับ. กรุงเทพมหานคร: ใยไหม.
วิจารณ์ พานิช. (2546). การจัดการความรู้ในยุคสังคมและเศรษฐกิจบนฐานความรู้. กรุงเทพมหานคร: สถาบัน ส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
วิจารณ์ พานิช. (2547). การจัดการความรู้คืออะไร. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 31 กรกฎาคม 2563 แหล่งที่มา http://www.kmi.or.th/kmi-articles/prof-vicharn-panich/65-0001-intro-to-km.html
สกุลพร หสิภาพร. (2558). การสร้างรูปแบบการจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในโรงเรียนสังกัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์. 5 (3), 249–386.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการและสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2548). การจัดการความรู้จาก ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.
อัญญาณี คล้ายสุบรรณ์. (2550). การจัดการความรู้ฉบับปฐมบท. นครปฐม: เพชรเกษม พริ้นติ้ง กรุ๊ป.