การใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูโรงเรียน ในเครือข่ายที่ 43 สำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ปรียากร พยุงตน

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูโรงเรียนในเครือข่ายที่ 43 สำนักงานเขตหนองจอกกรุงเทพมหานครโดยจำแนกตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้  ได้แก่  ครูผู้สอน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 151 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม   มีค่าความเชื่อมั่น 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ   ค่าความถี่   ค่าร้อยละ  ค่าเฉลี่ย  ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสถิติการทดสอบค่าที (t-test)  และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างจึงทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่
          ผลการวิจัยพบว่า
          1. ครูมีการรับรู้ต่อการใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในเครือข่ายที่43สำนักงานเขตหนองจอกกรุงเทพมหานครโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก
          2. ครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันมีการรับรู้ต่อการใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในเครือข่ายที่ 43 สำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานครโดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน และครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่างกัน มีการรับรู้ต่อการใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในเครือข่ายที่ 43 สำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จรัสศรี ทีปิรัช. (2560). การบริหารจัดการในภาครัฐและเอกชน.กรุงเทพมหานคร: หลักไทย

จันทรัศม์ ภูติอริยวัฒน์. (2560). ธรรมาภิบาลในการบริหารการศึกษากับความเป็นเลิศในผลลัพธ์

ด้านบุคลากร. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรี

นครินทรวิโรฒ.

เดชชาติ ตรีทรัพย์ และ กันตภณ หนูทองแก้ว. (2562). การใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานของ

องค์การบริหารส่วนตำบลโมถ่าย อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. ศึกษาศาสตมหาบัณฑิตสาขา บริหารการศึกษา.บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมโศกราช

ปาลิดา ธนะกุลภาคินและคณะ. (2563). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชัยภูมิ เขต 3 ตามการรับรู้ของครูผู้สอน. ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา.บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

พรรณิภา ไชยศรี. (2563). การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียนสังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2. ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการ บริหารการศึกษา.บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

วิวัฒน์ชัย ศรีจันทร์และคณะ. (2562). การพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล สำหรับโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชา การบริหารการศึกษา.บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

วิชิต บุญสนอง และ นนทภัสร์ ใสสุชล. (2562). ความคาดหวังของประชาชนต่อการส่งเสริมธรรมาภิ

บาลขององค์การบริหารส่วนตำบล ในเขตอำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี. รัฐประศาสน

ศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์

ศุภณัฐ กุมภาว์. (2563). การพัฒนาแนวทางการบริหารสถานศึกษาโดยยึดหลักธรรมาภิบาลสำหรับ

โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3. ครุศาสตรมหา

บัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

สิรินญา ศิริประโคน และ เกสิณี ชิวปรีชา. (2560). การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของ

โรงเรียนบ้านมาบเตย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1. ศึกษา

ศาสตรมหาบัณฑิตสาขาบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเกริก

สุรพล ลอยใหม่ และ ไชยา ยิ้มวิไล. (2562). การนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารกิจการภาครัฐ

ในหน่วยงานสาธารณสุขในสามจังหวัดเขตภาคใต้ตอนบนของประเทศไทย. ศึกษาศาสตร

มหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีปทุม

อัจฉราพรรณ โมรัตน์. (2562). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผล

ต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

เขต 21. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนค

รินทรวิโรฒ

อ้อมใจ วงษ์มณฑา. (2563). พฤติกรรมการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรสาย

สนับสนุน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการบริหาร

การศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

อานันท์ ปันยารชุน. (2559). การบริหารสไตล์โปร่งใสของอานันท์ ปันยารชุน. กรุงเทพมหานคร: ไทย

วัฒนาพานิช

Cohen, L., Minion, L., & Morrison, K. (2011). Research methods in education. (7th ed.)

NewYork:Routledge.

Cronbach, Lee. J. (1990) .Essentials of psychological testing. (7th ed). New York: Harper & Row.