พฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา

Main Article Content

อนงค์ จำปาจร

บทคัดย่อ

          บทความนี้ต้องการนำเสนอเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริหารศึกษาที่นับเป็นปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลให้การบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาสำเร็จบรรลุผลตามเป้าประสงค์ของสถานศึกษาที่วางไว้ตามรายละเอียดเนื้อหาของผู้บริหารที่ดีจะต้องมีพฤติกรรมดังนี้


           (1)  นิสัยส่วนตัว  ผู้บริหารจะต้องมีอารมณ์คงที่ มีบุคลิกภาพดี เป็นตัวของตัวเอง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีพลังในการทำงาน มีลักษณะแน่วแน่และควบคุมอารมณ์ได้


           (2)  สมรรถนะทางจิตใจ มีพุทธิปัญญามีการศึกษาดี มีความรู้ทางเทคนิค สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ในระดับมหาภาคได้ดี มีความยุติธรรม รู้สำนวนการติดต่อ พูดจาฉะฉานและมีจินตนาการ


           (2)  ทักษะทางสังคม โดยมีความสามารถที่จะกระตุ้นและแนะนำบุคคลอื่นมีความเป็นเพื่อนและมีประโยชน์ต่อบุคคลอื่น ได้รับการยอมรับจากบุคคลอื่น  มีความฉับไวต่อสถานการณ์ทางสังคมกล้าเผชิญกับปัญหาและพินิจพิเคราะห์พัฒนาบุคคลที่อยู่ใต้บังคับบัญชามีความสามารถในการเป็นผู้นำที่จะทำให้บุคคลรวมกันเป็นทีม เพื่อเกิดความร่วมมือซึ่งกันและกันในการทำงาน


           (4)  คุณสมบัติทางกาย คือ เป็นบุคคลที่มีความสามารถในการทำงานให้สำเร็จและเป็นบุคคลทุพพลภาพที่อาจจะส่งผลให้ขาดงาน หรือปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างไม่เต็มที่


           5)  เจตคติ  มีเจตคติที่ดีต่อการปรับตัวเกี่ยวกับสถานภาพของงาน  มีความต้องการ มีนิสัยใจคอดี  มีเจตคติต่องานและเพื่อนร่วมงานในแง่ดี  มีความซื่อสัตย์และเชื่อมั่นในตนเองและเป็นที่ไว้วางใจต่อเพื่อนร่วมงาน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กิตติมา ปรีดีดิลก.(2542). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: อักษรการพิมพ์.
ชุดา จิตพิทักษ์. (2525).พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สารมวลชน.
ธงชัย สันติวงษ์.(2525). พฤติกรรมบุคคลในองค์การ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชย์.
_________. (2542).องค์การและบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชย์.
ธวัชชัย เปรมปรีดิ์.(2542). ปัจจัยที่จำเป็นในการบริหารโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร: อักษรไทย.
ธีระ รุญเจริญ.(2546). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง จำกัด.
นิพนธ์ กินาวงศ์.(2542). หลักการบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. พิษณุโลก: ตระกูลไทย.
นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์.(2540). ก้าวเข้าสู่ผู้บริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บพิธการ พิมพ์.
บุญทัน ดอกไธสง.(2529). พฤติกรรมสู่ความเป็นเลิศ. กรุงเทพมหานคร: เอสแอนด์จีกราฟฟิก.
ประภาเพ็ญ สุวรรณ.(2527). “การศึกษาพฤติกรรมสุขภาพ”. คณะสาธารณสุขศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปัญญา แก้วกียูร.(2545). การบริหารจัดการศึกษาในรูปแบบการใช้โรงเรียนหรือเขตพื้นที่การศึกษา เป็นฐาน. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.

พนัส หันนาคินทร์.(2522). หลักการบริหารโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
พงษ์ บุญจิตราดุล.(2540). ก้าวเข้าสู่ผู้บริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ์.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 119. ตอนที่ 122 ก, 19 ธันวาคม 2545.
เยาวภา เดชชะคุปต์.(2542). การบริหารและการนิเทศการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: เจ้าพระยาระบบการพิมพ์.
วิโรจน์ สารรัตนะ.(2555). การบริหาร : หลักการ ทฤษฎี และประเด็นทางการศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 8.กรุงเทพฯ : ทิพยวิสุทธิ์.
ศิริชัย ชินะตังกูร. (2548).หลักและวิธีการบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: เจริญรุ่งการ พิมพ์.
สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์. การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. [ออนไลน์].แหล่งที่มา : http://www.moe.go.th/wijai/sbm/htm [2 กันยายน 2556].
สมาน อัศวภูมิ.(2551). การบริหารการศึกษาสมัยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 5. อุบลราชธานี: อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์.
อรุณ รักธรรม.(2524). มนุษย์สัมพันธ์กับการบริหาร. กรุงเทพมหานคร: ป.สัมพันธ์พานิช.
อุทัย บุญประเสริฐ.(2527). การวางแผนการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Good.(1973). Dictionary of Education. New York : McGraw – hill Book Company.