ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสังเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ตามคุณลักษณะความเป็นผู้นำ ดังนี้ 1) เป็นผู้มีสติปัญญาดีซึ่งประกอบไปด้วยความสามารถทางจินตนาการ (Imagination) ความสามารถในทางสร้างสรรค์ (Creative) มีวิจารณญาณดี (Judgement) ความสามารถในการปรับตัว (Adaptability) และมีความรอบรู้ในเหตุการณ์ต่าง ๆ (Alertness) ทั้งภายในและภายนอกกลุ่ม และปรับปรุงสถานการณ์ได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง 2. เป็นผู้ทำงานหนักอยู่เสมอ ต้องขยันทำงานมากกว่าผู้ใต้บังคับบัญชา 3. คำนึงถึงขวัญและกำลังใจของกลุ่ม 4. ผู้นำที่ดีต้องมีลักษณะเหนือกว่าผู้นำ 5. ผู้นำที่ดีจะต้องมีอารมณ์คงที่ (Wellbalanced) 6. เป็นนักกลยุทธ์ (Strategic man) 7. ต้องมีอำนาจ (Power)
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิชาการ
References
นิตย์ สัมมาพันธ์.(2545). ภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : อินเฟอร์มีเดียบุ๊ค.
บุญช่วย ศิริเกษ. พฤติกรรมองค์การในการบริหารการศึกษา. เลย : สถาบันราชภัฏเลย, พิมพ์อร สดเอี่ยม. (2548). แนวคิดใหม่เกี่ยวกับภาวะผู้นำ. เลย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
ประเสริฐ สมพงษ์ธรรม. (2538). การวิเคราะห์ภาวะผู้นำของศึกษาธิการจังหวัดที่สัมพันธ์กับ ประสิทธิผลขององค์การสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด. วิทยานิพนธ์ปริญญา ครศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย.
พนิดา ดามาพงศ์.(2534). การพัฒนาแบบประเมินภาวะผู้นำสุขภาพดีถ้วนหน้าของ สาธารณสุข อำเภอ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
พรนพ พุกกะพันธ์.(2554). ภาวะผู้นำและแรงจูงใจ. กรุงเทพฯ : จามจุรีย์โปรดักท์.
พิทักษ์ รันรัติยา.(2548). ความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนกับการ ดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาของ โรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 และ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราช ภัฎเลย.
ยุพา เสนาะพิน.(2546). แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารกับประสิทธิผลการบริหารงานคุณภาพ โรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เศาวนิต เศวณานนท์. (2541). ภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 3 นครราชสีมา : คณะครุศาสตร์ สถาบัน ราชภัฎนครราชสีมา.
สงวน นิตยารัมภ์พงศ์.(2544). ภาวะผู้นำความสำคัญต่ออนาคตไทย. กรุงเทพฯ : พิมพ์ไทย.
สมพร จำปานิล.(2549). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
สราญรัตย์ จันทะมล. (2548). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา อำเภอวังสะพุง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 2. รายงานการศึกษา อิสระปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : สำนักงานปฏิรูป การศึกษา (องค์การมหาชน).
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2534). ผู้นำแลกเปลี่ยนและผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพ. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
Bass, B. M.(1985). Leadership and performance beyond expectations. London : Collier Mcmillan.
Charles Wortman.(1985). Effective Organization An Introduction (U.S.A.:Kent Publish Company.
Hay, G., & Thomas, P. (1975). Leadership development and organizational improvement. New York : McGraw – Hill.
Katz, R. L. (1989). Management of the total enterprise. Englewood Cliffs, NJ : Prentice Hall.
Weber, M. (1947). The Theory of Social and Economic Organisations, Free Press.
Yukl, G. A. (1998). Leadership in organizations (3rd ed.). Englewood Cliffs, NJ : Prentice Hall.
บุญช่วย ศิริเกษ. พฤติกรรมองค์การในการบริหารการศึกษา. เลย : สถาบันราชภัฏเลย, พิมพ์อร สดเอี่ยม. (2548). แนวคิดใหม่เกี่ยวกับภาวะผู้นำ. เลย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
ประเสริฐ สมพงษ์ธรรม. (2538). การวิเคราะห์ภาวะผู้นำของศึกษาธิการจังหวัดที่สัมพันธ์กับ ประสิทธิผลขององค์การสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด. วิทยานิพนธ์ปริญญา ครศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย.
พนิดา ดามาพงศ์.(2534). การพัฒนาแบบประเมินภาวะผู้นำสุขภาพดีถ้วนหน้าของ สาธารณสุข อำเภอ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
พรนพ พุกกะพันธ์.(2554). ภาวะผู้นำและแรงจูงใจ. กรุงเทพฯ : จามจุรีย์โปรดักท์.
พิทักษ์ รันรัติยา.(2548). ความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนกับการ ดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาของ โรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 และ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราช ภัฎเลย.
ยุพา เสนาะพิน.(2546). แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารกับประสิทธิผลการบริหารงานคุณภาพ โรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เศาวนิต เศวณานนท์. (2541). ภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 3 นครราชสีมา : คณะครุศาสตร์ สถาบัน ราชภัฎนครราชสีมา.
สงวน นิตยารัมภ์พงศ์.(2544). ภาวะผู้นำความสำคัญต่ออนาคตไทย. กรุงเทพฯ : พิมพ์ไทย.
สมพร จำปานิล.(2549). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
สราญรัตย์ จันทะมล. (2548). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา อำเภอวังสะพุง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 2. รายงานการศึกษา อิสระปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : สำนักงานปฏิรูป การศึกษา (องค์การมหาชน).
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2534). ผู้นำแลกเปลี่ยนและผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพ. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
Bass, B. M.(1985). Leadership and performance beyond expectations. London : Collier Mcmillan.
Charles Wortman.(1985). Effective Organization An Introduction (U.S.A.:Kent Publish Company.
Hay, G., & Thomas, P. (1975). Leadership development and organizational improvement. New York : McGraw – Hill.
Katz, R. L. (1989). Management of the total enterprise. Englewood Cliffs, NJ : Prentice Hall.
Weber, M. (1947). The Theory of Social and Economic Organisations, Free Press.
Yukl, G. A. (1998). Leadership in organizations (3rd ed.). Englewood Cliffs, NJ : Prentice Hall.