งานสร้างสรรค์จากสถานพยาบาล

Main Article Content

สิงห์ อินทรชูโต
ภัทรารัตน์ ตันนุกิจ

บทคัดย่อ

ปริมาณของเหลือใช้จากอุปกรณ์ทางการแพทย์แบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง ที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล ของเหลือใช้เหล่านี้มีคุณสมบัติพิเศษทั้งความแข็งแรง ความเหนียว ความหนา ความคงทนที่มากกว่าวัสดุทั่วไป และคุณสมบัติที่สามารถกันน้ำได้ เป็นต้น แต่ของเหลือใช้เหล่านี้ กลับถูกนำกลับมาใช้ประโยชน์น้อยมาก โครงการอัพไซคลิ่งของเหลือใช้จากสถานพยาบาลจึงเป็นโครงการนำร่องในการนำของเหลือใช้จากโรงพยาบาลกลางมาศึกษา พัฒนาและสรรค์สร้างผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหล่านี้ โดยการร่วมมือระหว่างนักออกแบบ พยาบาลและบุคคลากรของโรงพยาบาลฯ ผลปรากฏว่า เกิดต้นแบบผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายกว่า 20 แบบ มีการจดสิทธิบัตร เกิดการจำหน่ายเชิงพาณิชย์ บุคคลากรของโรงพยาบาลมีความมั่นใจในผลิตภัณฑ์ตนเองสูงขึ้น แสดงให้เห็นว่า สถานพยาบาลมีศักยภาพในการบ่มเพาะนวัตกรรมจากเศษวัสดุเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงมหาดไทย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. แนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของประเทศ. [ อินเตอร์เน็ต]. (ม.ป.ท.) . [เข้าถึงเมื่อ 10 ธันวาคม 2560] เข้าถึงได้จาก https://www.tei.or.th/w_eg/150826-27_w2e_13.pdf

สิงห์ อินทรชูโต. (2556). Upcycling พัฒนาเศษวัสดุอย่างสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (ITAP) ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.

สิงห์ อินทรชูโต และภัทรารัตน์ ตันนุกิจ. บทเรียนการจัดการของเหลือใช้ในโรงพยาบาลเพื่อกลับมาสร้างสรรค์. วารสารโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์. 2557; 10 (2) : 41 – 52.

American Nurses Association. Nursing Shortage. [cited 2017] Available from: https://www.nursingworld.org/nursingshortage

Centers of Disease Control and Prevention. Guideline for Disinfection and Sterilization in Healthcare Facilities. [cited 2008]. Available from https://www.cdc.gov/infectioncontrol/guidelines/disinfection/reuse-of-devices.html [

Minority nurse. The Nurse Shortage: Exploring the Situation and Solutions. [cited 2013 March 30]. Available from: https://minoritynurse.com/the-nursing-shortage-exploring-the-situation-and-solutions/

Zhang, MWB, Ho RCM, Cheung MWL., Fu E, Mak A. “Prevalence of Depressive Symptom in Patients with Chronic Obstructive Pulmonary Disease: A Systemic Review, Meta – analysis and Meta – regression”. General Hospital Psychiatry. 2011 (33): 217 – 223.