มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองผู้พิการจากการกระทำความผิดทางอาญา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) แก้ไขปัญหากรณีไม่มีบทลงโทษเกี่ยวกับการกระทำความผิดต่อชีวิตและร่างกายในเหตุฉกรรจ์ที่กระทำต่อผู้พิการ 2) แก้ไขปัญหากรณีไม่มีบทลงโทษเกี่ยวกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในเหตุฉกรรจ์ที่กระทำต่อผู้พิการ 3) แก้ไขปัญหากรณีไม่มีบทลงโทษเกี่ยวกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในเหตุฉกรรจ์ที่กระทำต่อผู้พิการ ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
ผลการวิจัยพบว่า
การกระทำความผิดอาญาต่อผู้พิการ ผู้กระทำความผิดจะได้รับโทษเสมือนการกระทำความผิดต่อบุคคลทั่วไป ซึ่งผู้พิการมีโอกาสได้รับตวามเสียหายที่ร้ายแรงกว่าบุคคลทั่วไป และควรมีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาเพื่อทำให้การกระทำความผิดต่อผู้พิการเป็นเหตุให้ได้รับโทษหนักขึ้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
** ข้อความ ข้อคิดเห็น หรือข้อค้นพบ ในวารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสารเป็นของผู้เขียน ซึ่งจะต้องรับผิดชอบต่อผลทางกฎหมายใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากบทความและงานวิจัยนั้น ๆ โดยมิใช่ความรับผิดชอบของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี **
References
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. (2562). คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาค1 (พิมพ์ครั้งที่11). สำนักพิมพ์วิญญูชน.
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. (2546). ถาม-ตอบ ประมวลกฎหมายอาญาภาคความผิด: ความผิดเกี่ยวกับการปกครองและ
ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม (พิมพ์ครั้งที่3).จิรรัชการพิมพ์.
กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ. (2564, 31 ธันวาคม). รายงานข้อมูลสถานการณ์ด้านคนพิการในประเทศ
ไทย. https://dep.go.th/images/uploads/files/Situation_dep64.pdf
ขนิษฐา เทวินทรภักติ. ( 2540). แผ้วถางทางการฟื้นฟูสมรรถภาพ : สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของคนพิการ. กรม
ประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม. วิริน กราฟฟิค.
คณิต ณ นคร. (2563). กฎหมายอาญาภาคทั่วไป (พิมพ์ครั้งที่ 7). สำนักพิมพ์วิญญูชน.
คณิต ณ นคร. (2555). กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (พิมพ์ครั้งที่ 8). สำนักพิมพ์วิญญูชน.
คณิต ณ นคร. (2560). กฎหมายอาญาภาคทั่วไป (พิมพ์รั้งที่ 6). สำนักพิมพ์วิญญูชน.
จิตติ ติงศภัทิย์. (2556). กฎหมายอาญา ภาค1 (พิมพ์ครั้งที่10). สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา.
ณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน. (2557). ทฤษฎีอาชญาวิทยา (หน่วยที 6). แนวการศึกษาชุดวิชา กฎหมายอาญา และ อาชญาวิทยา
ชั้นสูง. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. (2559). ประมวลกฎหมายอาญาฉบับอ้างอิง (พิมพ์ครั้งที่35). สำนักพิมพ์วิญญูชน.
ทวีพร คงแก้ว. (2553). เหตุฉกรรจ์ในความผิดฐานทำร้ายร่างกาย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย].
นวลจันทร์ ทัศนชัยกุล. (2541). อาชญากรรมการป้องกัน:การควบคุม. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นาตยา บัวลอย. (2543). ปัจจัยในการกระทำความผิดของผู้ต้องขังหญิงในคดีความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย.
[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาลัยวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บรรเจิด สิงคะเนติ. (2547). หลักพื้นฐานสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญ (พิมพ์ครั้งที่ 2).สำนักพิมพ์วิญญูชน.
บีบีซี นิวส์ ไทย. (2565, 21 กรกฎาคม). คนพิการกับโอกาสในการมีงานทำกับคนปกติในไทยในปี 2565. บีบีซี นิวส์ ไทย
ปกรณ์ มณีปกรณ์. (2555). ทฤษฎีอาชญาวิทยา. สำนักพิมพ์เอ็ม.ที.เพรส.
ประทีป ทับอัตตานนท์ และ จิดาภา พรยิ่ง. (2561). สิทธิคนพิการในประเทศไทย. สำนักพิมพ์ปณรัชช
ประหยัด พวงจำปา. (2537). ปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อการกระทำผิดซ้ำของผู้ถูกคุมประพฤติ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ปราง ยอดเกตุ.(2556) ประชาสังคมกับความเสมอภาคทางเพศและสิทธิสตรี : กรณีศึกษามูลนิธิเพื่อนหญิง[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2539). การตีความกฎหมาย (พิมพ์ครั้งที 3). สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิชัย ด่านพัฒนามงคล. (2548). เหตุฉกรรจ์ในความผิดฐานลักทรัพย์. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์] มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์.
ภัทรพร อ่อนไว. ( 2548). ยุทธศาสตร์การเคลื่อนไหวการสร้างพลังศักยภาพของสตรีพิการในประเทศไทย.
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สตรีศึกษา). สำนักบัณฑิตอาสาสมัคมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สัญชัย สัจจวานิช. (2514). คำอธิบายกฎหมายอาญาว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกายความผิดเกี่ยวกับทรัพย์. สำนักพิมพ์แสวงสุทธิการพิมพ์.
สหรัฐ กิติ ศุภการ. (2564). กฎหมายอาญาหลักและคำพิพากษา. สำนักพิมพ์อมรินทร์