การเห็นคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคม กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลหันคา จังหวัดชัยนาท

Main Article Content

ณิรีณา วิเศษศิริกุล
งามลมัย ผิวเหลือง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับการเห็นคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคมและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลหันคา จังหวัดชัยนาท 2).เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล การเห็นคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลหันคา จังหวัดชัยนาท กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ผู้สูงอายุในเทศบาลตำบลหันคา จังหวัดชัยนาท จำนวน 306 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ


            ผลการวิจัยพบว่า


            1) การเห็นคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลหันคา จังหวัดชัยนาท อยู่ในระดับสูง


            2) การเห็นคุณค่าในตนเองและการสนับสนุนทางสังคมมีอิทธิพลทางบวกต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และสามารถอธิบายได้ ร้อยละ 88.2 (R2 = .882)

Article Details

How to Cite
วิเศษศิริกุล ณ., & ผิวเหลือง ง. (2024). การเห็นคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคม กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลหันคา จังหวัดชัยนาท. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 7(3), 35–47. https://doi.org/10.14456/issc.2024.42
บท
บทความวิจัย

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2562). มาตรการระเบียบวาระแห่งชาติ : ผู้สูงอายุ 2562

ธนธัช ธนิกกุล. (2553). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ในอำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2560). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2559. บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

ลัชนา สุระรัตน์ชัย. (2552). การเห็นคุณค่าในตนเองการสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ โรงพยาบาลลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วริยา บุญทอง และพัชรา พลเยี่ยม. (2564). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของวัยทำงานอายุ 15-59 ปี ปี 2564 เขตสุขภาพที่ 6. กรมอนามัย.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล (วปส.). (2565). Research Brief การเข้าถึงระบบบริการทางสังคมของประชากรในครัวเรือนก่อนวัยสูงอายุและผู้สูงอายุ ที่มีรูปแบบการอยู่อาศัยต่างกันเพื่อนำไปสู่แนวทางการสนับสนุนการบริการที่เหมาะสม.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล (วปส.). (2566). สุขภาพคนไทย 2566. บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583 (ฉบับปรับปรุง). สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 (ฉบับประกาศราชกิจจานุเบกษา). สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สุปาณี จินาสวัสดิ์. (2559). พฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลวังเหนือ อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา.

Cobb, S. (1976). Social support as a moderator of life stress. Psychosomatic Medicine.

Coopersmith, S. (1981). The Antecedent of Self-Esteem (2nd. Ed). Consulting Psychologist Press, Inc.

Coopersmith, S. (1984). SEI: Self-Esteem Inventories. Consulting Psychologist Press, Inc.

Pender,N.J . (1987). Health Promotion in nursing practice. Appleton Century - Croft.

Thoits, P.A. (1982). Conceptual , Methodlogical and Theoretical Problems in Studying Social Support as a Buffer Against Life Stress. Journal of Health and Social Behavior, 23(2), 145-159.

Walker, S. N., Sechrist, K.R., & Pender, N.J. (1987). The health - Promotion lifestyle Profile II: Development and psychometric characteristics. Nursing Research, 36(2), 76 – 81

Walker, S. N., Sechrist, K.R., & Pender, N.J. (1995). The health promoting life style profile II.

Weiss, R. 1974. The provisions of social relationships. In Z. Rubin. Prentice Hall.