การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เขตอำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

กรรณิกา โสมมา
เอื้อมพร ศิริรัตน์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เขตอำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ด้านความต้องการทางกายภาพ และด้านความต้องการด้านค่าครองชีพของผู้สูงอายุ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ จากศึกษากลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้สูงอายุในเขต    อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 392 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ (Systematic sampling) และคำนวณตามสัดส่วน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ประกอบด้วยค่าเฉลี่ย (mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation)


              ผลการวิจัยพบว่า


              ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ด้านความความต้องการทางกายภาพโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.08; S.D. =0.62) และด้านความต้องการด้านค่าครองชีพของผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.27; S.D. =0.63) ตามลำดับ

Article Details

How to Cite
โสมมา ก., & ศิริรัตน์ เ. (2023). การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เขตอำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 6(4), 107–116. https://doi.org/10.14456/issc.2023.66
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่งคงของมนุษย์. (2565, 20 กันยายน). พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546. https: // www. dop. go. th/ download/ laws/ regulation 201525091630421.pdf.

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2565, 20 ตุลาคม). การดูแลผู้สูงอายุ. https://www.dop.go.th/th/know/15/741.

เขมจิรา พิทักราษฎร์. (2563). การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดชลบุรีตามแนวพระพุทธศาสนา. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม, 5(3), 20-32.

ชัยพัฒน์ พุฒซ้อน. (2561). แนวทางการแก้ไขปัญหาสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย. วารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1(1), 10-28.

ชุมพร ฉ่ำแสงและคณะ. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของบุคลากรฝ่ายการพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดนครนายก. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ดุษฏี เจริญสุข. (2558). ผู้สูงอายุกับการส่งเสริมสุขภาพชุมชน. วารสารพยาบาลตำรวจ, 7(2), 34-44.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2564, 20 กันยายน). แนวทางการหารายได้เสริม.https://www.bot.or.th/covid19/doctordebt/content/Pages/CreateIncome.aspx

พัชราภรณ์ พัฒนะ. (2560). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในศูนย์การเรียนรู้การดูแลผู้สูงอายุเขตสุขภาพที่ 4. วารสารพุทธชินราชเวชสาร, 36(1), 11-32.

รณกร กิติพชรเดชาธร. (2562). การประกอบอาชีพเสริมกับคุณภาพชีวิตข้าราชการ:การประยุกต์ใช้แบบจำลองโครงสร้างความแปรปรวน. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 6(2), 30-45.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564).

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2561- 2580).

สิริพร สุธัญญา. (2560). พฤติกรรมการดูแลตนเองกับความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2565, 20 ตุลาคม). การดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม. https://empowerliving.doctor.or.th/case/160.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. (2556). การดูแลผู้สูงอายุความสุขและความเครียด. มหาวิทยาลัยมหิดล.

สนธยา สวัสดิ์. (2561). การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนบ้านร้องเม็ง ตำบลหนองแหย่ง อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.