การพัฒนาโซ่อุปทานด้วยการบริหารต้นทุนฐานกิจกรรมสินค้าพืชผักสวนครัวเกษตรอินทรีย์ของชุมชนทุ่งเผาเต่า จังหวัดนครปฐม

Main Article Content

รัชนีวรรณ สุจริต
ศรีศรินทร์ นรเศรษฐโสภณ
มาธุสร แข็งขัน
สิทธิชัย พินธุมา

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและวิเคราะห์ต้นทุนฐานกิจกรรมที่เกิดขึ้นในโซ่อุปทานการปลูกพืชผักสวนครัวเกษตรอินทรีย์ชุมชนทุ่งเผาเต่า จังหวัดนครปฐม จำแนกตามกิจกรรมโลจิสติกส์ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ จำนวน 30 ครัวเรือน และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ต้นทุนฐานกิจกรรม ทั้งกิจกรรมต้นน้ำ กิจกรรมกลางน้ำ และกิจกรรมปลายน้ำ  ผลการศึกษาพบว่า กิจกรรมต้นน้ำมีค่าใช้จ่ายที่มากที่สุด จำนวน 21,969 บาท/ไร่ กิจกรรมที่มีค่าใช้จ่ายในส่วนต้นน้ำสูงที่สุดคือ การจัดซื้อค่าวัตถุดิบ จำนวน 8,457 บาท/ไร่  ผลการศึกษาต้นทุนฐานกิจกรรมการจัดซื้อค่าวัตถุดิบ เป็นต้นทุนที่ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรผู้ปลูกพืชผักสวนครัวเกษตรอินทรีย์มากที่สุด จึงมีแนวทางการลดต้นทุนการจัดซื้อค่าวัตถุดิบด้วยการจัดกิจกรรมให้ความรู้แก่เกษตรกรในด้าน การจัดหาวัตถุดิบจาก Supplier ส่งผลให้เกษตรกรมีความรู้ในด้านการจัดหาที่สำคัญ และก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัยนี้

Article Details

How to Cite
สุจริต ร., นรเศรษฐโสภณ ศ., แข็งขัน ม., & พินธุมา ส. (2023). การพัฒนาโซ่อุปทานด้วยการบริหารต้นทุนฐานกิจกรรมสินค้าพืชผักสวนครัวเกษตรอินทรีย์ของชุมชนทุ่งเผาเต่า จังหวัดนครปฐม. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 6(2), 58–67. https://doi.org/10.14456/issc.2023.25
บท
บทความวิจัย

References

กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ ศลิษา ภมรสถิตย์ และ จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา. (2546). การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์.สำนักพิมพ์ท้อป.

กาญจน์วจี ธนโชติรุ่งสาทิส. (2557). ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของโลจิสติกส์ขนส่งข้าวไทยในเส้นทางขนส่งจากจังหวัดนครสวรรค์-ส่งออกต่างประเทศ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

ชัญญาภัค หล้าแหล่ง. (2559). การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของผลิตภัณฑ์ทุเรียนในภาคใต้. มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ศรีศรินทร์ นรเศรษฐโสภณ. (2565). แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการโซ่อุปทานผลิตภัณฑ์เตยหอม อำเภอพุทธ มณฑล จังหวัดนครปฐม. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 5(1), 139-148.

ณัฐพล วัฒนไชย. (2561). การปรับปรุงกระบวนการด้านโลจิสติกส์ตั้งแต่การจองรถจนถึงจุดส่งสินค้าของบริษัทโลจิสติกส์แห่ง

หนึ่ง. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

ทายวุฒิ โพธิ์ทองแสงอรุณ. (2560). กระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ กลุ่มอุตสาหกรรมน้ำตาล

กรณีศึกษาโรงงานน้ำตาลวังขนาย. มหาวิทยาลัยราชภัฏขอนแก่น.

ธนิต โสรัตน์, 2550. การประยุกต์ใช้โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, ประทุมทอง พริ้นติ่ง กรุ๊ป จำกัด.

ธนชาติ นุ่มนนท์, 2561. Digital Transformation คือการพัฒนา Platform มิใช้แค่การสร้าง Product หรือ Service.

[Online] https://thanachart.org/2018/03/24/digital-transformation -คือการพัฒนา-platform-มิใช่แค/. (1 ตุลาคม 2563)

ชฎาพร ฑีฆาอุตมากร. (2565). การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการปลูกอินทผลัมในอำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา.

วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 5(1), 139-148.

พงษ์ชัย อธิคมรัตนกุล. โลจิสติกส์ก้าวอย่างประเทศไทยในกระแสโลกาภิวัฒน์. สุขภาพ, 2550.

CSCMP: Council of Supply Chain Management Professionals. 2006. Supply Chain Managementand Logistics Definition. [Online] http://www.cscmp.org/ Website/AboutCSCMP/Definitions/Definitions.asp. (1 October 2020)

Handfield, R.B. and Nichols, E.L. (1999), Introduction to supply chain Management, Prentice-Hall, Englewood Cliffs, NJ.

Lambert, D.M., Baker, A., Huynen, L., Haddrath, O., Herbert, P.D.N. and Millar, C.D. (2003). Is a Large-Scale DNA-Based Inventory of Ancient Life Possible. Journal of Heredity 96(3): 279-284

Mentzer, John T. et al. “Defining Supply Chain Management.” Journal of Business Logistics. 22, 2 (2001): 1-25.