ทวิภาวะ : การสนธิของผู้ส่งสารและสิ่งรบกวนของการสื่อสาร ด้วยการแต่งหน้าของผู้มีอิทธิพลทางความคิดผ่านเฟซบุ๊กไลฟ์

Main Article Content

กฤษณ์ คำนนท์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์บทบาทของผู้ส่งสาร และสิ่งรบกวนทางการสื่อสาร ที่เข้ามามีบทบาทในกำหนดความหมายของการแต่งหน้า ของผู้มีอิทธิพลทางความคิดผ่านเฟซบุ๊ก ไลฟ์ ผลการวิเคราะห์พบว่า สิ่งรบกวน (Noise) มิได้เพียงแค่เป็นตัวขัดขวางการสื่อสารเฉกเช่นดังเดิมอีกต่อไป แต่สิ่งรบกวนสามารถแปลงสภาพบทบาทของตัวเองเป็นบริบท (Context) และรหัส (Code) และต่างมีส่วนร่วมกันในกำหนดความหมาย ของการแต่งหน้าเกิดขึ้นได้ โดยได้เกิดการซ้อนทับกัน ในบทบาทขององค์ประกอบของการสื่อสาร ซึ่งทำให้เกิดการเพิ่มพูนทางการสื่อสาร (Extra Communication) ทั้งนี้ยังพบว่า สิ่งรบกวนยังมีฐานะเป็น “ปรสิตการสื่อสาร” (Paracommunication) ที่เข้ามามีบทบาทในการสร้างสุนทรียศาสตร์ และช่วยให้การสื่อความหมายด้วยการแต่งหน้าสามารถบรรลุเป้าหมายของการสื่อสาร เพื่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน (Mutual Understanding)

Article Details

How to Cite
คำนนท์ ก. (2023). ทวิภาวะ : การสนธิของผู้ส่งสารและสิ่งรบกวนของการสื่อสาร ด้วยการแต่งหน้าของผู้มีอิทธิพลทางความคิดผ่านเฟซบุ๊กไลฟ์. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 6(1), 184–194. https://doi.org/10.14456/issc.2023.17
บท
บทความวิชาการ

References

กาญจนา แก้วเทพ. (2543). การสื่อสารกับพื้นที่สาธารณะ: ทัศนะของ Habermas”, ใน กาญจนา แก้วเทพและคณะ (บ.ก.), มองสื่อใหม่ มองสังคมใหม่. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กฤษณ์ ทองเลิศ. (2554). การผสานรูปแบบ การสื่อความหมายและจินตสาระของผู้รับสารเป้าหมาย ที่มีต่องานภาพถ่ายกับลายลักษณ์อักษรในงานโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชัชฎา อัครศรีวร นากาโอคะ และกฤชณัท แสนทวี. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรู้เท่าทันข้อมูลและสื่อดิจิทัล ของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 7(1), 55-64.

ชินกฤต อุดมลาภไพศาล. (2550). การสื่อความหมายเชิงสัญรูปของการสื่อสารเชิงกราฟิกสำาหรับงานโทรทัศน์เฉพาะเรื่อง. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรีดา อัครจันทโชติ. (2557). การข้ามพ้นวัฒนธรรมของสื่อการแสดงงิ้วในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภวินท์ ศรีเกษมสุข, (2562). กลยุทธ์การสื่อสารภายในองค์กรในภาวะวิกฤตของรัฐวิสาหกิจในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ริรินดา เติมไทยมงคล. (2552). ปรสิตการสื่อสารในรายการโทรทัศน์เล่าข่าวเช้า. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรันธร บุญพิทักษ์. (2551). ปรสิตการสื่อสารในการแสดงตลกจากสื่อวีซีดีบันทึกการแสดงสดของวงโปงลางสะออน. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิศิษฎ์ เกตุรัตนกุล ณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน และสุภาภรณ์ ศรีดี. (2562). กลยุทธ์การแพร่ภาพสดผ่านเฟซบุ๊กไลฟ์ขายสินค้าแฟชั่นกับ พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 18(24), 117-129.

ศิริชัย ศิริกายะ. (2562). การสื่อสารกับอเสถียรตรรกะ. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 18 (2), 8-12.

ศิริชัย ศิริกายะ. (2558). แบบจำลองการสื่อสารในยุคดิจิทัล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(15), 8-13.

สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2563). สารกับการสื่อความหมาย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักส์ จำกัด.

อธิษฐาน ตั้งอำพัน. (2556). กระบวนการสื่อสารเพื่อสร้างความมีชื่อเสียงของตนเองผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์ และคณะ. (2550). สื่อสารมวลชนเบื้องต้น สื่อมวลชน วัฒนธรรม และสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Benjamin , W. (1933). The Work of Art in the Age of Mechanical Reproduction. In Illuminations. H. Arendt (ed.). New York: Schocken

Berger, A. A. (1992). Popular Culture Genre: Theories and Texts. New York: Sage.

Goddard, A. (2002). The language of advertising: Written texts. 2nd Edition. London: Routledge.

Elkins, J. (1993). From original to copy and back again. The British Journal of Aesthetics, 33(2), 113–120.

McCroskey, J. and Wheeless L. (1976). Introduction to Human Communication. Boston: Allyn & Becon.

McLuhan, M. (1964). Understanding media: The extensions of man. New York: McGraw-Hill.

Schneider, Beat. (2005). Design – Eine Einführung. Entwurf im sozialen, kulturellen und wirtschaftlichen Kontext. Basel: Birkhäuser.

Shannon, C. E. & Weaver, W. (1949). The Mathematical Theory of Communication. Urbana. IL: University of Illinois Press.