ไมโครบิตเครื่องมือในการเรียนรู้และการสร้างสรรค์นวัตกรรมแห่งยุคเศรษฐกิจดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • จารุภา กิจเจริญปัญญา -
  • พงศ์ประพันธ์ พงษ์โสภณ
  • เอกภูมิ จันทรขันตี

คำสำคัญ:

ไมโครบิต, โค้ดดิ่ง, การเขียนโปรแกรม, เศรษฐกิจดิจิทัล

บทคัดย่อ

ไไมโครบิต (Micro: bit) อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดกะทัดรัดกลายเป็นเครื่องมือแห่งการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลที่ระบบเศรษฐกิจถูกขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึงการใช้งานอินเทอร์เน็ต บทความวิชาการนี้แสดงถึงบทบาทที่หลากหลายของไมโครบิต ในด้านการศึกษาและการปลูกฝังทักษะที่จำเป็นสำหรับนักเรียนในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว ไมโครบิตถูกนำมาใช้เพื่อเป็นพื้นฐานของการเขียนโค้ด การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และการพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำนวณสำหรับนักเรียน เพราะเป็นอุปกรณ์ที่ง่ายต่อการใช้งาน มีความกะทัดรัด ช่วยให้นักเรียนได้สำรวจโลกแห่งเทคโนโลยี และมีบทบาทสำคัญในการเตรียมบุคคลให้พร้อมสำหรับการทำงาน โดยการปลูกฝังทักษะ
การแก้ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์ การสร้างนวัตกรรม และความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยี เพื่อช่วยสร้างนักเรียนให้
เป็นนวัตกร รวมทั้งนำเสนอมุมมองการนำไมโครบิตมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ซึ่งมีส่วนช่วยในการพัฒนาทักษะที่สำคัญแห่งศตวรรษที่ 21 ให้เกิดขึ้นกับนักเรียน และสร้างนักเรียนให้เป็นนวัตกรในอนาคต ช่วยให้นักเรียนปรับตัวเข้ากับความต้องการที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่า
ไมโครบิตเป็นเครื่องมือที่มีศักยภาพสูงในการพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำนวณและการเขียนโค้ด โดยเหมาะสำหรับนักเรียนทุกวัย สามารถใช้ในการสร้างนวัตกรรมที่หลากหลาย ช่วยส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์
อย่างไรก็ตามการนำไมโครบิตมาใช้ในการเรียนการสอน ครูจะต้องมีความรู้และทักษะเฉพาะทาง รวมถึงมีการจัดการเวลาและทรัพยากรเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพ ทั้งครูและนักเรียนจึงควรพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาเพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่มีคุณค่า

References

ภาษาไทย

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560a). แผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 2563 – 2565). สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560b). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560).

โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). รายงานประจำปี 2559 - 2560. MOE. https://www.moe.go.th.

พันธรัตน์ ศรีสุวรรณ และ พินิจ ศรีสวัสดิ์. (2566). มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์: กรณีการเข้าถึงข้อมูลของบุคคล กระทำความผิดเกี่ยวกับธุรกรรมทาง การเงินผ่านระบบออนไลน์. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 11(1), 161-186.

https://doi.org/10.14456/husoaru.2023.7

ลลิตา วงค์มลี และ พงศ์ธนัช แซ่จู. (2565). การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายตาม การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน เรื่อง บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำนวณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม , 5(13), 61-76. https://so02.tci-

thaijo.org/index.php/etcedumsujournal/article/view/250274

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562a). แผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2564 (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี). สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562b). ยุทธศาสตร์ 5 ปี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.).

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564). แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ (Coding)

เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. 21 เซ็นจูรี่.

ภาษาอังกฤษ

Ahmad, T. (2023). Innovation in green building projects: An exploratory inquiry. Buildings, 13(9), 23-59.

Bessant, J. R., & Tidd, J. (2018). Entrepreneurship. John Wiley & Sons.

Bybee, R. W. (2013). The case for STEM education: Challenges and opportunities. National Science Teachers Association.

Churchill, W. (2016). America must boost math and science to remain competitive globally. The National Math and Science Initiative (NMSI).

Fadel, C., Bialick, M., & Trilling, B. (2015). Four-dimensional education. Center for Curriculum Redesign.

García-Peñalvo, F. J., & Mendes, A. J. (2018). Exploring the computational thinking effects in pre-university education. Computers in human behavior, 80, 407-411.

Gibson, S., & Bradley, P. (2017). A study of Northern Ireland Key Stage 2 pupils’ perceptions of using the BBC Micro: bit in STEM education. The STeP Journal, 4(1), 15-41.

Halfacree, G. (2017). The official BBC Micro: bit user guide. John Wiley & Sons.

Mehonic, A., & Kenyon, A. J. (2022). Brain-inspired computing needs a master plan. Nature, 604(7905), 255-260.

Manyika, J., Chui, M., Miremadi, M., Bughin, J., George, K., Willmott, P., & Dewhurst, M. (2017). A future that works: AI, automation, employment, and productivity. McKinsey Global Institute Research, Tech. Rep, 60, 1-135.

OECD. (2017). PISA 2015 Results (Vol. 5). OECD Publishing.

Reddy, P., Sharma, B., & Chaudhary, K. (2020). Digital literacy: A review of literature. International Journal of Technoethics (IJT), 11(2), 65-94.

Saul, D. (2017). A digital clock with the display split across multiple Micro: bits linked with radio & using whaleysans 2-digit font. https://microbit.hackster.io/David_MS/whaley-clock-a76c6c

Schwab, K. (2017). The fourth industrial revolution. Crown Currency.

Sentance, S., Waite, J., Hodges, S., MacLeod, E., & Yeomans, L. (2017). “Creating Cool Stuff” pupils' experience of the BBC micro: bit. In Proceedings of the 2017 ACM SIGCSE technical symposium on computer science education (pp. 531-536).

Sun, L., Guo, Z., & Zhou, D. (2023). Measuring development of young students’ coding ability through a graphical teaching intervention: further explanation of the effect of coding experience and coding interest. Interactive Learning Environments, 1-24.

Tan, M. (2023). Freestyling with python: Going off map and applying skills. In Micro: bit Projects with Python and single board computers: Building STEAM projects with code club and kids' maker groups

(pp. 155-187). Apress.

Tanenbaum, C., Gray, T., Lee, K., Williams, M., & Upton, R. (2016). STEM 2026: A vision for innovation in STEM education. US Department of Education.

Threekunprapa, A., & Yasri, P. (2020). Unplugged coding using flowblocks for promoting computational thinking and programming among secondary school students. International Journal of Instruction, 13(3), 207-222.

UNESCO. (2019). Rethinking education: Towards a future of lifelong learning. International Journal of Educational Development, 70, 123-145.

Wang, L., Geng, F., Hao, X., Shi, D., Wang, T., & Li, Y. (2021). Measuring coding ability in young children: Relations to computational thinking, creative thinking, and working memory. Current Psychology, 1-12.

World Economic Forum. (2020). Schools of the future: Defining new models of education for the fourth

Industrial revolution. https://www.weforum.org/publications/schools-of-the-future-defining-new-

models-of-education-for-the-fourth-industrial-revolution/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-20

How to Cite

กิจเจริญปัญญา จ. ., พงษ์โสภณ พ. ., & จันทรขันตี เ. . (2024). ไมโครบิตเครื่องมือในการเรียนรู้และการสร้างสรรค์นวัตกรรมแห่งยุคเศรษฐกิจดิจิทัล. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 52(4), EDUCU5204001 (14 pages). สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EDUCU/article/view/266172