CCPR Model: การสร้างคุณลักษณะของผู้เรียนยุคใหม่ด้วยรูปแบบการสอนเชิงสร้างสรรค์

ผู้แต่ง

  • ศิริศุกร์ ศิริโชคชัยตระกูล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

คุณลักษณะของผู้เรียนยุคใหม่, กระบวนการสอนเชิงสร้างสรรค์

บทคัดย่อ

เมื่อการพัฒนาประเทศอยู่ในภาวะที่สังคมโลกแข่งขันกันอย่างสูงเช่นในปัจจุบัน จึงต้องมีการเปลี่ยนกระแสการศึกษาจากที่เป็นแบบระบบบริโภคนิยมอย่างผู้อื่นให้เป็นกระแสที่ก่อให้เกิดผลผลิตในทางสร้างสรรค์มากยิ่งขึ้น
อันเกิดจากความคิด สติปัญญา หรือวิธีการของการศึกษานั้น ๆ มีการคิด การประดิษฐ์ การสร้างสรรค์ผลงานใหม่ มิใช่
คอยแต่เป็นผู้บริโภคจนทำให้เกิดปัญหาทางสังคมอย่างที่เคยเป็นมา การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอนวัตกรรม
ด้านการจัดการเรียนการสอนที่สร้างคุณลักษณะของผู้เรียนยุคใหม่โดยใช้รูปแบบการสอนเชิงสร้างสรรค์ (CCPR Model)
ซึ่งประกอบด้วย 1) การสอนคิดวิเคราะห์ ที่เน้นให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ เข้าใจ เรียนรู้และเข้มแข็ง 2) การสอนคิดสร้างสรรค์ ที่สนับสนุนให้ผู้เรียนคิดใหม่ ฝึกทำงานใหม่ มีมุมมองใหม่ โดยเริ่มจากการมองสิ่งแวดล้อมรอบตัว หยิบประเด็นที่ควรได้รับการพัฒนานำมาพัฒนาขึ้นใหม่ 3) การสอนคิดผลิตภาพ ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนางานขึ้นเองได้และเป็นผลผลิตของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นผลผลิตในเชิงความคิด งานวิชาการ สิ่งของต่าง ๆ และ 4) การสอนคิดรับผิดชอบ ที่เน้นความรับผิดชอบที่มีต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยเริ่มจากกระบวนการให้ผู้เรียนเห็นปัญหาของสังคมแล้วแสวงหาทางแก้ไขปัญหานั้น
ซึ่งจะช่วยพัฒนาความคิด การสร้างสรรค์ การสร้างสิ่งใหม่อย่างมีความรับผิดชอบควบคู่กันไป เพื่อสร้างผู้เรียนยุคใหม่ที่สามารถต้านทานกระแสบริโภคนิยมหรือเป็นผู้บริโภคอย่างชาญฉลาดได้ ซึ่งจะเป็นทุนทางสังคมสำคัญในการขับเคลื่อน
การพัฒนาประเทศและใช้เป็นเครื่องมือทางการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างแท้จริง

Author Biography

ศิริศุกร์ ศิริโชคชัยตระกูล, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

อาจารย์ประจำโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายประถมศึกษา (ศึกษาศาสตร์) คณะศึกษาศาสตร์

References

ภาษาไทย

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2561). นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. พีบาลานซ์แอนด์ปริ้นติ้ง.

ทนันยา คำคุ้ม และ ฐาปนี สีเฉลียว. (2562). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเชิงผลิตภาพเพื่อพัฒนาทักษะการสร้าง

นวัตกรรมการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต, 13(2), 71-86.

ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์. (2558). การคิดสร้างสรรค์ในศาสตร์การคิด. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

นฤเบศน์ นิยมทรัพย์. (2565). ผลของการจัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพที่มีต่อความสามารถความเป็นผู้ประกอบการ

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ประภา เทียนเกษม. (2563). การเสริมสร้างทักษะเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพสำหรับนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษา

เอกชน [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปรีดา ยังสุขสถาพร. (2561). นวัตกร 4 แบบ. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2554). CCPR กรอบคิดใหม่ทางการศึกษา. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์, นวลจันทร์ เชาว์กีรติพงศ์, ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์, ไสว ฟักขาว, และ ศรเนตร

อารีโสภณพิเชฐ. (2560). คิดผลิตภาพ สอน และสร้างได้อย่างไร (พิมพ์ครั้งที่ 3). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2564). การคิดเชิงผลิตภาพการเรียนการสอนเพื่อสร้างผลิตและนวัตกรรม. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

เมธี ธรรมวัฒนา. (2560). ปริทัศน์หนังสือ เรื่อง การศึกษาไทย 4.0 ปรัชญาการศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ.

วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 8(3), 252.

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี. (2565). นโยบายการบริหารโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี ประจำปีการศึกษา 2565-2567.

http://www.act.ac.th.

วัชรพงค์ โนทะนะ และ วารีรัตน์ แก้วอุไร. (2565). การพัฒนารูปแบบเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการจัด

การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพตามทฤษฎีสร้างสรรค์ความรู้ผ่านชิ้นงานร่วมกับแนวคิด

การเสริมต่อความรู้ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ที่ไม่ได้ตีพิมพ์], มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และ มารุต พัฒผล. (2562). การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์. ศูนย์ผู้นำวัตกรรม

หลักสูตรและการเรียนรู้.

วิทยา วรพันธ์. (2562). การออกแบบและพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตร์. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ศิรินภา คุ้มจั่น. (2565). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมสมรรถนะเชิงผลิตภาพ สาระเศรษฐศาสตร์ของ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3. 2565 [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์], มหาวิทยาลัย

ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

ศิริศุกร์ ศิริโชคชัยตระกูล. (2558). การศึกษาทักษะการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนโดยใช้

กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ (CRP) ในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, (38)4, 130-141.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2563). นวัตกรรมบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเพื่อสร้างนวัตกร. วารสารศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร, 22(2), 193-213.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561.

https://cadt.dpu.ac.th/upload/content/files.pdf

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา. (2553). คุณธรรมนำความรู้ (พิมพ์ครั้งที่ 1). ฟรีมายด์.

อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2550). หลักการสอน (ฉบับปรับปรุง) (พิมพ์ครั้งที่ 4). โอเดียนสโตร์.

ภาษาอังกฤษ

Barbot, B., Lubart, T. I., & Besançon, M. (2016). “Peaks, slumps, and bumps”: Individual

differences in the development of creativity in children and adolescents. New directions for child and adolescent development, 2016(151), 33-45.

Bellanca, J., & Brandt, R. (2010). 21st century skills: Rethinking how students learn, solution. Tree Press.

Blaskova, M. (2014). Influencing academic motivation, responsibility and creativity.

Procedia – Social and Behavioral Sciences, 159, 415-425.

Bloom, B. S. (1972). Taxonomy of educational objectives. David Mckay Company.

Cattaneo. K. H. (2017). Telling active learning pedagogies apart: From theory to practice. Journal of new

Approaches in Educational Research, 6(2), 144-152.

Csikszentmihalyi, M., & Wolfe, R. (2014). New conceptions and research approaches to creativity:

Implications of a systems perspective for creativity in education. In M. Csikszentmihalyi (Ed.), The

Systems Model of Creativity (pp. 161-184). Springer.

Darra, M. (2006). Productivity improvements in education: A replay. European Research Studies Journal,

IX(3-4), 101. http://doi.org/10.35808/ersj/160

David, A. S. (2011). How the brain learns (4th ed). Corwin.

De Bono, E. (2007). How to Have Creative Ideas. Vermilion.

Duckworth, A., & Seligman, E. P. (2005). Self-discipline outdoes iq in predicting academic

performance of adolescents. Psychological Science, 16(12), 939-944.

Driscoll, P. M. (2000). Psychology of learning for Instruction (2nd ed). Allyn & Bacon.

Hasan, R., Lukitasari, M., Darmayani, O., & Santoso, S. (2019). The variation pattern of cooperative

learning models implementation to increase the student creative thinking and learning motivation. Journal of Physics: Conference Series, 1157, 1-7.

Hellison, D. (2003). Teaching responsibility through physical activity. Human Kinetics.

Hidayat, G. H. (2015). Production based learning: An instructional design model in the

context of vocational education and training (VET). Procedia-Social and Behavioral Sciences,

, 206-211. https://doi.org/10.1016/j.sbspro.2015.08.142

Howard, G. (2007). 5 Minds for the future. Harvard Business School.

Jenson, M. C., & Meckling, W. (2001). Specific and general knowledge and organizational structure.

Replika.

Kotelnikov, V. (2011). Creativity in Individuals. EURODL journal, December 22, 2011.

Kurland, D. J. (1995). I know what it says … what does it mean?: Critical skills for critical reading.

Wadsdworth Publishing Company.

Livingston, L. (2010). Teaching creativity in higher education. Arts education policy review, 111(2),

-62.

Marzano, R. J., & Kendall, J. S. (2007). The new taxonomy of educational objectives (2nd ed.).

Corwin.

Nelson, R. (2012). Self-improvement guide. Lulu.

Norris, S. P., & Ennis, R. (1989). Evaluating critical thinking: The practitioners' guide to teaching thinking series. Midwest Publications.

Patton, A., & Robin, J. (2012). Work that matters: The teachers’ guide to project based Learning.

Pual Hamlyn Foundation, Learning Futures.

Stoll, L., & Temperley, J. (2009). Creative leadership: A challenge of our times. School Leadership and

Management, 29(1), 63-76.

Torrance, E. P. (2005). Different ways of learning for different kinds of children. John Wiley and Sons.

Torrance, E. P. (2008). Thinking creativity with words: Forms a and b. Scholastic Testing Service. Inc.

VandenBos, G. R. (2007). APA Dictionary of psychology. American Psychological Association.

World Economic Forum. (2020). Forecasts for labour market evolution in 2020-2025. The Future

of Jobs Report 2020.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-20

How to Cite

ศิริโชคชัยตระกูล ศ. (2024). CCPR Model: การสร้างคุณลักษณะของผู้เรียนยุคใหม่ด้วยรูปแบบการสอนเชิงสร้างสรรค์. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 52(4), EDUCU5204002 (13 pages). สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EDUCU/article/view/260223