การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันความผูกพันองค์กรของอาจารย์มหาวิทยาลัยรัฐ

ผู้แต่ง

  • น้ำเงิน จันทรมณี ภาควิชาพื้นฐานและการพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • น้ําผึ้ง อินทะเนตร ภาควิชาพื้นฐานและการพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน, โมเดลการวัด, ความผูกพันองค์กร, อาจารย์มหาวิทยาลัย

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับ 2 ของความผูกพันองค์กรของอาจารย์มหาวิทยาลัยรัฐ จำนวน 820 คน จาก 16 สถาบัน ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (multistage random sampling) เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถามความผูกพันองค์กรประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ข้อคำถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 18 ข้อ มีค่าอำนาจจําแนกอยู่ระหว่าง 0.582-0.797 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (reliability) เท่ากับ 0.986 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับขั้นที่สอง (second order factor analysis) ด้วยโปรแกรม Mplus ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า โมเดลการวัดความผูกพันองค์กรของอาจารย์มหาวิทยาลัยรัฐสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (x2 = 8.212, df = 5, p-value = 0.1449, CFI = 0.998, TLI = 0.995, RMSER = 0.028, SRMR = 0.009) มีความตรงทางการวัด ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ 1) การยอมรับเป้าหมายขององค์กร (1.000, R2 = 1.000) 2) ความปรารถนาที่จะคงอยู่เป็นสมาชิกขององค์กร (0.900, R2 = 0.810) และ 3) ความเต็มใจและใช้ความพยายามอย่างเต็มที่ในการปฏิบัติงาน (0.874, R2 = 0.764) ตามลำดับ

References

ภาษาไทย

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2563). ข้อมูลบุคลากร. สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. https://info.mhesi.go.th/homestat_stf.php

ธัญศญา ธรรศโสภณ. (2565). ความผูกพันต่อองค์กรกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 6(2), 92–99. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/soc-rmu/article/view/253412

ธีรเดช จันทามี. (2555). ผลกระทบของคุณภาพชีวิตในการทำงานต่อความผูกพันในองค์กร ของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร]. ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย. https://shorturl.asia/UN5MD

นารีรัตน์ บุญมั่ง. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา]. DSpace Repository. https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6301

น้ำผึ้ง อินทะเนตร. (2561). เอกสารประกอบการสอนกระบวนวิชา การวัดและประเมินผลการศึกษา. [เอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์]. สาขาวิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา ภาควิชาพื้นฐานและการพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พิมลพรรณ แซ่เหลี่ยว, จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย, และ นภาเดช บุญเชิดชู. (2559). คุณภาพชีวิตในการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. วารสารสังคมศาสตร์วิจัย, 7(2), 44–65. https://shorturl.asia/yRhSK

พิมพ์กมล จักรานุกุล, ดวงธิดา นันทาภิรัตน์, ศิริณญา เพชรจันทร, และ ณฐอร วรมงคลชัย. (2560). อิทธิพลของความผูกพันต่อองค์กรและคุณภาพชีวิตการทำงานที่มีต่อ การธำรงรักษาพนักงานโรงแรมระดับ 5 ดาว ในเขตกรุงเทพมหานคร. BU Academic Review. 16(2). 128–144. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buacademicreview/article/view/96948

วนัสนันท์ รุจาจรัสวงศ์. (2559). คุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรในสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตลำปาง. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่โจ้]. ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์และงานวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้. http://mdc.library.mju.ac.th/thesis/2564/wanatsanan_rujajaruswong/fulltext.pdf

ศิรัส ยศปัญญา. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรประจำภาควิชาภายใต้คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. คลังปัญญามหาวิทยาลัยศิลปากร. https://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/9881?attempt=2&

สมรรถพงศ์ ขจรมณี. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ การกำหนดเป้าหมาย และ พฤติกรรมการให้บริการของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลรัฐบาลแห่งหนึ่งโดยมีความผูกพันต่อเป้าหมายเป็นตัวแปรกำกับความสัมพันธ์ระหว่างการกำหนดเป้าหมายกับพฤติกรรมการให้บริการ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. TU Digital Collections. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:91678

สาวิตรี สร้อยสุดสวาท. (2554). คุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กร ของพนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคเหนือ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์]. ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย. https://shorturl.asia/Gocem

สุนทรพจน์ ดำรงค์พาณิช. (2563). โปรแกรม Mplus กับการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อาทิตติยา ดวงสุวรรณ. (2551). การศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานและความผูกพันต่อองค์กรระหว่างข้าราชการกับพนักงานมหาวิทยาลัย: กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. วารสารวิทยบริการ. 19(2). 1-15. https://journal.oas.psu.ac.th/index.php/asj/article/view/285/251

ภาษาอังกฤษ

Allen, N. J., & Meyer, J. P. (1990). The measurement and antecedents of affective, continuance and normative commitment to the organization. Journal of Occupational Psychology, 63(1), 1–18. https://doi.org/10.1111/j.2044-8325.1990.tb00506.x

Byrne, B. M. (2012). Structural equation modeling with Mplus: Basic concepts, applications, and programming. Routledge.

David, J. (1994). Organizational Behavior (2nd ed.). Allyn and Bacon.

Halbesleben, J. R. B. (2010). A meta-analysis of work engagement: Relationships with burnout, demands, resources, and consequences. In A. B. Bakker & M. P. Leiter (Ed.), Work engagement: A handbook of essential theory and research (pp. 102–117). Psychology.

Kim, H. Y. (2013). Statistical notes for clinical researchers: Assessing normal distribution (2) using skewness and kurtosis. Restorative dentistry & endodontics, 38(1), 52–54. https://doi.org/10.5395/rde.2013.38.1.52

Locke, E. A., Shaw, K. N., Saari, L. M., & Latham, G. P. (1981). Goal setting and task performance: 1969–1980. Psychological Bulletin, 90(1), 125–152. https://doi.org/10.1037/0033-2909.90.1.125

Macey, W. H., Schneider, B., Barbera, K. M., & Young, S. A. (2009). Employee engagement: Tools for analysis, practice, and competitive advantage. Wiley-Blackwell. https://doi.org/10.1002/9781444306538

Malinen, S., Wright, S., & Cammock, P. (2013). What drives organizational engagement? A case study on trust, justice perceptions and withdrawal attitudes. Evidence-based HRM, 1(1), 96-108. https://doi.org/10.1108/20493981311318638

Meyer, J. P., Allen, N. J., & Smith, C. A. (1993). Commitment to organizations and occupations: Extension and test of a three-component conceptualization. Journal of Applied Psychology, 78(4), 538–551. https://doi.org/10.1037/0021-9010.78.4.538

Porter, L. W., Steers, R. M., Mowday, R. T., & Boulian, P. V. (1974). Organizational commitment, job satisfaction, and turnover among psychiatric technicians. Journal of Applied Psychology, 59(5), 603–609. https://doi.org/10.1037/h0037335

Porter, L. W., & Steers, R. M. (1973). Organizational, work, and personal factors in employee turnover and absenteeism. Psychological Bulletin, 80(2), 151–176. https://doi.org/10.1037/h0034829

Rich, B. L., Lepine, J. A., & Crawford, E. R. (2017). Job engagement: Antecedents and effects on job performance. Academy of Management Journal, 53(3), 617–635. https://doi.org/10.5465/amj.2010.51468988

Saks, A. M., & Gruman, J. A. (2014). What do we really know about employee engagement? Human Resource Development Quarterly, 25(2), 155–182. https://doi.org/10.1002/hrdq.21187

Steers, R. M. (1977). Antecedents and outcomes of organizational commitment. Administrative Science Quarterly, 22(1), 46–56. https://doi.org/10.2307/2391745

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-26

How to Cite

จันทรมณี น., & อินทะเนตร น. (2025). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันความผูกพันองค์กรของอาจารย์มหาวิทยาลัยรัฐ. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 53(1). สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EDUCU/article/view/259742