การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง: การเรียนรู้สู่การปฏิบัติจริง
คำสำคัญ:
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ, ทักษะการคิดขั้นสูงบทคัดย่อ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการทำให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาในลักษณะองค์รวม มองเห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาแต่ละวิชา และสามารถเชื่อมโยงเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกันอย่างมีความหมาย ก่อให้เกิดการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง นอกจากนี้ จากการทำกิจกรรมการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้หรือสหวิทยาการ ทำให้ผู้เรียนพัฒนาทางด้านการคิดเชื่อมโยง การคิดวิเคราะห์ จากการได้ลงมือปฏิบัติ มิใช่เพียงการท่องจำจากหนังสือเรียน ผู้เรียนมีความสนุกในการเรียน มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับครูผู้สอน และเพื่อนในชั้นเรียน รวมไปถึงการมีคุณธรรมและจริยธรรมที่ดีงาม
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
จรรยา ดาสา. (2552). 15 เทคนิคในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนเชิงรุก. นิตยสาร สสวท., 36(163), 72-76.
ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). วิทยาด้านการคิด. เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์.
ทิศนา แขมมณี. (2548). ศาสตร์การสอน (พิมพ์ครั้งที่ 4). ด่านสุทธาการพิมพ์.
ทิศนา แขมมณี (2550). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 5). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปริณดา ลิมปานนท์ พรหมรัตน์. (2558). เทคนิคการตั้งคำถามตามแนว Bloom สู่การสร้างแบบสอบ. EDUCA. www.educathai.com/upload/content/file_1447182498.pdf
วิวัฒน์ มีสุวรรณ์. (2555, 25 กันยายน). Bloom's revised taxonomy in 2001. http://wiwatmee.blogspot.com/2012/09/blooms-revised-taxonomy-in-2001.html
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2556). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (พิมพ์ครั้งที่ 7). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สนธิ พลชัยยา. (2557). สะเต็มศึกษากับการคิดขั้นสูง. นิตยสาร สสวท., 42(189), 7-10.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. พริกหวานกราฟฟิค.
สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์. (2546). การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ. บุ๊ค พอยท์.
สุวิทย์ มูลคำ และ อรทัย มูลคำ. (2546). 19 วิธีจัดการเรียนรู้: เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ. ภาพพิมพ์.
อุษณีย์ โพธิสุข และคณะ. (2544). สร้างสรรค์นักคิด: คู่มือการจัดการศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษด้านทักษะความคิดระดับสูง. รัตนพรชัย.
ภาษาอังกฤษ
Anderson, L. W., & Krathwohl, D. R. (2001). A taxonomy for learning, teaching, and assessing. Longman.
Berlin, D. F., & Lee, H. (2005). Integrating science and mathematics education: Historical analysis. School Science and Mathematics, 105(1), 15-24.
Gonzalez, J. (2012). Promoting higher order thinking in mathematics [Unpublished master’s thesis]. Kean University.
Heong, Y. M., Yunos, J. B. M., Hassan, R. B., Othman, W. B., & Kiong, T. T. (2011). The perception of the level of higher order thinking skills among technical education students. In C. H. Lin & C. M. Zhang (Eds.), International conference on social science and humanity IPEDR, Vol.5 (pp. 281-285). IACSIT.
Kevin, C. C. (2015, February 1). Research supporting integrated curriculum: Evidence for using this method of instruction in public school classrooms. ERIC. https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED552916.pdf
Lake, K. (2002). Integrated curriculum. Education Northwest. https://educationnorthwest.org/sites/default/files/integrated-curriculum.pdf
Malik, A., & Malik, R. (2011). Twelve tips for developing an integrated curriculum. Medical Teacher, 33(2), 99-104.
Rajendran, N. S. (2008). Teaching & acquiring higher-order thinking skills: Theory & practice. Universiti Pendidikan Sultan Idris.
Wang, H. L., & Shih, H. (2003). The use of the integrated thematic instruction model (ITIM) in English education in Taiwan in the 21st century. http://www.hiceduation.org/edu_proceedings/Hui%20_%20chich%20Laura%20Wang.pdf