โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมคุณภาพ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3

ผู้แต่ง

  • อภิสิทธิ์ โคสาดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • ดาวรุวรรณ ถวิลการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • วัลลภา อารีรัตน์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

DOI:

https://doi.org/10.14456/educu.2022.29

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำ, ภาวะผู้นำการเรียนรู้, วัฒนธรรมคุณภาพ

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 2) ศึกษาอิทธิพลภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาและ 3) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษา วิธีการดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ 1) ตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดล กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารและครู จำนวน 240 คน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นระหว่าง 0.832 – 0.844 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติ SEM 2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า 1) โมเดลสมการโครงสร้างมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (c2 = 20.955, df = 30, p-value = 0.889, CFI = 1.000 , TLI = 1.0001 , RMSEA = 0.000 , SRMR = 0.029) 2) ภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารมีอิทธิพลเชิงบวกต่อวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษามีขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.807 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) แนวทางในการพัฒนาวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาประกอบด้วยรายการปฏิบัติตามองค์ประกอบของวัฒนธรรมคุณภาพ จำนวน 17 รายการ ซึ่งอยู่ในลักษณะข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและมีผลการประเมินแนวทางในระดับมากที่สุด

Author Biographies

อภิสิทธิ์ โคสาดี, มหาวิทยาลัยขอนแก่น

นักศึกษาปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  

ดาวรุวรรณ ถวิลการ, มหาวิทยาลัยขอนแก่น

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

วัลลภา อารีรัตน์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  

References

ภาษาไทย

กนกอร สมปราชญ์. (2560). ภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารโรงเรียน : การศึกษาทฤษฎีฐานราก. วารสารวิชาการและวิจัย

สังคมศาสตร์, 12(34), 51–66.

กานต์นรี ประสพสุข. (2563). วัฒนธรรมองค์กรของโรงเรียนวัดบางพระ [การค้นคว้าอิสระหลักสูตรมหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์].

มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เกษมสันต์ แสนศิลป์. (2562). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นําการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของ

โรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์].

มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

จิราวรรณ มลาไวย์. (2563). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสร้างวัฒนธรรมคุณภาพภายในโรงเรียนขนาดเล็ก. วารสารวิจัย มข.

สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 8(3), 64–72.

จุลศักดิ์ ก๊อกพิมพ์. (2561). ภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาและพฤติกรรมการสอนของครูที่ส่งผลต่อประสิทธิผล

การพัฒนาวิชาชีพครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 : การวิเคราะห์พหุระดับ

[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เจตน์ศจี สีหานาทบุญาฤทธิ์. (2562). ภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การนวัตกรรมของ

โรงเรียนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. (2557). วัฒนธรรมคุณภาพ : สร้างคน สร้างชาติ. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ

การศึกษา (องค์การมหาชน).

ดนัย เทียนพุฒ. (2553). นวัตกรรมการบริการลูกค้า. บุ๊คแบง.

ดาวรุวรรณ ถวิลการ. (2559). รูปแบบการพัฒนาวัฒนธรรมคุณภาพของโรงเรียนขนาดเล็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).

ดาวรุวรรณ ถวิลการ. (2562). ศาสตร์และศิลป์ทางการบริหารการศึกษา. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ประกฤติยา ทักษิโณ. (2563). การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม LISREL และ Mplus. คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พิชญา สดชื่นจิตต์ และ พนิต ธัญมงคลสวัสดิ์. (2556). การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน.

เอพีเอ็ม กรุ๊ป โซลูชั่น.

ภัสนันท์ พ่วงเถื่อน. (2562). ภาวะผู้นำกับวัฒนธรรมองค์การของหน่วยงานราชการไทยในพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก.

วารสารการเมืองการบริหารและกฎหมาย, 11(1), 587–609.

มนูญ เศษแอ และ ชวลิต เกิดทิพย์. (2560). การวิเคราะห์องค์ประกอบวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษารางวัลพระราชทาน

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 28(2),

-33.

ศิริวรรณ เต็มวงษ์. (2559). การวิเคราะห์องค์ประกอบวัฒนธรรมคุณภาพของโรงเรียนรางวัลพระราชทานใน จังหวัดขอนแก่น

[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สมชาย เทพแสง. (2559). ภาวะผู้นำการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขต

พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4. วารสารบริหารการศึกษา มศว., 13(25), 116–125.

สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์. (2550). วัฒนธรรมการทำงานเพื่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา. วิทยาจารย์ : วารสารเพื่อการพัฒนา

วิชาชีพครู, 106(5), 94-97.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3. (2563). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ

– 2565. กลุ่มนโยบายและแผน.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3. (2564). แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2564

(เอกสารหมายเลข 4/2564). กลุ่มนโยบายและแผน.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2561 – 2580.

http://nscr.nesdc.go.th/.

สุธารัตน์ ทองเหลือ. (2559). คุณลักษณะและพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมคุณภาพ

ของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต

ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

สุนทรพจน์ ดำรงค์พานิช. (2563). โปรแกรม Mplus กับการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์.

สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิมล ติรกานันท์. (2553). การวิเคราะห์ตัวแปรพหุในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภาษาอังกฤษ

Antonacopoulou, E., & Bento, R. (2003). Methods of learning leadership taught and experiential

[Unpublished master’s thesis]. University of Manchester.

Batten, J. D. (1992). Building a total quality culture. Crisp Publications.

Bollen, K. A. (1989). Structure equations with latent variables. Wiley.

Burill, C. W., & Johannes, L. (1999). Achieving quality through continual improvement. New John Wiley & Sons.

Goetsch, D. L., & Davis, S. B. (2003). Quality management: Introduction to total quality management for

production processing and service. Prentice Hall.

Greiter, T. W. (2013). Leadership for 21st century learning. OECD Publishing.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E., (2010). Multivariate data analysis: A global perspectives. Pearson

Education.

Halbert, J., & Kaser, L. (2013). Innovative learning environment: Developing leadership in British Columbia

in leadership for 21st. OECD.

Kohlreiser, G. (2013). Learning leadership. IMD Real World Real Learning.

Lunenburg, F. C., & Ornstein, A. C. (2000). Educational administration: Concepts and practices (3rd ed.). Wadsworth.

Tubin, D. (2013). Approaches to learning leadership development in different school system: Leadership

for 21st Century Learning. OCED.

Watson, M. A., & Gryna, F. M. (2001). Quality culture in small business: Four case studies. Quality Progress,

(1), 41-48.

Woods, J. A. (1998). The six values of a quality culture. http://my.execpc.com/~jwoods/6values.htm

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-09-23

How to Cite

โคสาดี อ., ถวิลการ ด., & อารีรัตน์ ว. (2022). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมคุณภาพ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 . วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 50(3), EDUCU5003010. https://doi.org/10.14456/educu.2022.29