รูปแบบการประเมินสมรรถนะนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

Main Article Content

พัชรินทร ชมภูวิเศษ, จตุภูมิ เขตจัตุรัส, ธัญญรัศม จอกสถิตย์

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนารูปแบบการประเมินสมรรถนะนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาและ เพื่อประเมินคุณภาพของรูปแบบการประเมินสมรรถนะนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา กระบวนการวิจัยใชระเบียบวิธี วิจัยและพัฒนา แบงเปน 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การสรางและพัฒนารูปแบบการประเมินสมรรถนะนักศึกษาปฏิบัติการสอน ในสถานศึกษา ระยะที่ 2 การทดลองใชและประเมินคุณภาพของรูปแบบการประเมินสมรรถนะนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถาน ศึกษา กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาชั้นปที่ 5 ภาคปกติ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จํานวน 11 สาขาวิชา สาขาละ 4-5 คน จํานวน 50 คน ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในภาคเรียน ที่ 2 ปการศึกษา 2557 ครูพี่เลี้ยง จํานวน 50 คน อาจารยนิเทศ จํานวน 11 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 1) ชุด เครื่องมือประเมินสมรรถนะนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2) คูมือการใชรูปแบบการประเมิน 3) แบบประเมินความ พึงพอใจตอการใชรูปแบบการประเมิน วิเคราะหขอมูลโดยการแจกแจงความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ วิเคราะหเนื้อหา ผลการวิจัยโดยสรุป 1) รูปแบบการประเมินสมรรถนะนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ที่พัฒนาขึ้น ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภาดานความรูและประสบการณวิชาชีพ แบงการประเมินเปน 3 ระยะคือ 1) การประเมินกอน ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2) การประเมินระหวางการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3) การประเมินหลังปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษา ผูประเมินประกอบดวย ครูพี่เลี้ยง อาจารยนิเทศรวมกันประเมิน มีวัตถุประสงคเพื่อประเมินสมรรถนะนักศึกษา ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา และเพื่อนําผลประเมินสมรรถนะไปใชในการพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาครู รูปแบบที่พัฒนา ขึ้น ประกอบดวย 5 องคประกอบ ดังนี้ 1) วัตถุประสงคการประเมินสมรรถนะนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตาม มาตรฐานดานความรูและมาตรฐานประสบการณวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด 2) สิ่งที่มุงประเมิน 3) วิธีการและเครื่องมือประเมิน 4) เกณฑและการตัดสินผลการประเมิน 5) การนําผลการประเมินไปใช โดยใชการตัดสินแบบอิงเกณฑรอยละ 80 ในทุกมาตรฐาน เพื่อรับรองการผานประสบการณวิชาชีพครู 2) ผลการประเมินคุณภาพของรูปแบบการประเมินสมรรถนะนักศึกษาปฏิบัติการ สอนในสถานศึกษาพบวา โดยภาพรวมรูปแบบการประเมินทั้ง 4 มาตรฐาน มีคุณภาพอยูในระดับมากและเมื่อพิจารณาเปน รายดาน คือ 1) มาตรฐานดานความเปนประโยชน 2) มาตรฐานดานความเปนไปได 3) มาตรฐานดานความเหมาะสม 4) มาตรฐานดานความถูกตอง พบวาทั้ง 4 ดานมีระดับผลการประเมินอยูในระดับมากทุกดาน

Article Details

How to Cite
[1]
ธัญญรัศม จอกสถิตย์ พ. ช. จ. เ., “รูปแบบการประเมินสมรรถนะนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา”, EDGKKUJ, vol. 10, no. 1, pp. 69–75, May 2017.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biography

พัชรินทร ชมภูวิเศษ, จตุภูมิ เขตจัตุรัส, ธัญญรัศม จอกสถิตย์, สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน