การวิเคราะหประโยชนของเลนพื้นบานตามทฤษฎีพหุปญญา

Main Article Content

วิภาวรรณ คันธนาม, สุวรี ฤกษจารี

Abstract

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาลักษณะของของเลนพื้นบาน ทางกายภาพ ผูเลน และวิธีการเลน 2) ศึกษา ประโยชนของของเลนพื้นบานตามทฤษฎีพหุปญญา 8 ดานไดแก ดานภาษา ปญญาตรรกศาสตรและคณิตศาสตร ดานดนตรี ดานมิติสัมพันธดานรางกายและการเคลื่อนไหว ดานมนุษยสัมพันธ ดานการเขาใจตนเอง ดานธรรมชาติวิทยา สิ่งที่ศึกษา คือ ของเลนพื้นบาน จํานวน 32 ชิ้น ที่สรางขึ้นจากกลุมชื่อคนเฒาคนแก ตําบลปาแดด อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย เครื่องมือ ที่ใชในการวิจัยแบงเปน 2 ประเภทคือ 1) แบบบันทึกขอมูลของเลนพื้นบาน 2) แบบวิเคราะหของเลนพื้นบาน

ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้

1. ของเลนพื้นบานที่นํามาวิเคราะหประโยชนจํานวน 32 ชิ้น สามารถจําแนกวิธีการเลนได 13 ประเภท โดยของเลน ประเภทกดคานหรือแกนมีจํานวนมากที่สุดและพบวาเด็กกลุมอายุ 7 - 9 ป กับกลุมอายุ 9 -12 ป มีวิธีการเลนไมแตกตางกัน

2. ของเลนพื้นบานทุกชิ้น มีประโยชนตามทฤษฎีพหุปญญา 8 ดาน เมื่อวิเคราะหในภาพรวมจากของเลนทั้งหมด 32 ชิ้น มีของเลนที่ชวยสงเสริมดานมิติสัมพันธ ดานรางกายและการเคลื่อนไหว ดานการเขาใจตนเอง และดานธรรมชาติวิทยา จํานวนมากที่สุด รองลงมา คือ ของเลนที่สงเสริมดานตรรกศาสตรและคณิตศาสตร ถัดมาคือของเลนที่สงเสริมดานดนตรี และ ดานภาษาตามลําดับ สุดทายคือ ดานมนุษยสัมพันธ

Article Details

How to Cite
[1]
สุวรี ฤกษจารี ว. ค., “การวิเคราะหประโยชนของเลนพื้นบานตามทฤษฎีพหุปญญา”, EDGKKUJ, vol. 10, no. 1, pp. 147–154, May 2017.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biography

วิภาวรรณ คันธนาม, สุวรี ฤกษจารี, สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการใหคําปรึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการใหคําปรึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน