ความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร และความสามารถในการแกปญหาโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่อง สมบัติของธาตุและสารประกอบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4

Main Article Content

ภูวนาท นิสัยตรง, สุธา ภูสิทธิศักดิ์

Abstract

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร เรื่อง สมบัติของธาตุและสารประกอบ และความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร เมื่อจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน กลุมเปาหมายเปนนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/10 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2557 โรงเรียนหนองเรือวิทยา อําเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแกน สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแกน เขต 25 จํานวน 34 คน การวิจัยนี้เปนการวิจัยรูปแบบไมเขาขั้นการทดลอง (Pre - Experimental Design) เปนการศึกษาเฉพาะกรณีโดยใหการทดลองหนึ่งครั้ง เครื่องมือที่ใชในการวิจัยมี 2 ประเภท คือ 1) เครื่องมือที่ใชในการดําเนินการวิจัย ไดแก แผนการจัดการเรียนรู โดยใชรูปแบบการเรียนรูแบบใชปญหาเปนฐาน เรื่อง สมบัติ ของธาตุและสารประกอบ ซึ่งใชรูปแบบของสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จํานวน 6 แผน ใชเวลาสอนทั้งสิ้น 18 ชั่วโมง 2) เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล ไดแก แบบวัดความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร เรื่อง สมบัติของธาตุและสารประกอบ จํานวน 30 ขอ แบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร จํานวน 12 ขอ และอนุทินหรือผลสะทอนการเรียนของนักเรียน

ผลการวิจัย พบวา

1. ความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร เรื่อง สมบัติของธาตุและสารประกอบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน โดยใชรูปแบบการเรียนรูแบบใชปญหาเปนฐานของสํานักงานเลขาธิการสภา การศึกษา จํานวน 6 ขั้น พบวา ทุกมโนมตินักเรียนสวนใหญมีความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร เรื่อง สมบัติของธาตุ และสารประกอบ อยูในระดับความเขาใจที่สมบูรณ และระดับความเขาใจที่ถูกตองแต ไมสมบูรณ รวมกันคิดเปนรอยละ 75.96 ของนักเรียนทั้งหมด โดยมโนมติที่นักเรียนมีความเขาใจมากที่สุด คือ มโนมติ เรื่อง ธาตุและสารประกอบในสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดลอม คิดเปนรอยละ 93.38 สวนมโนมติที่นักเรียนมีความเขาใจนอยที่สุด คือ มโนมติ เรื่อง ปฏิกิริยาของธาตุและ สารประกอบของธาตุตามหมู คิดเปนรอยละ 57.35 เมื่อวิเคราะหระดับความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตรของนักเรียน พบวา นักเรียนมีระดับมโนมติทางวิทยาศาสตร 4 ระดับ ไดแก ความเขาใจมโนมติในระดับเขาใจที่ถูกตองสมบูรณ ระดับความเขาใจ ที่ถูกตองแตไมสมบูรณ ระดับความเขาใจที่คลาดเคลื่อนบางสวน และระดับความเขาใจที่คลาดเคลื่อน

2. ความสามารถในการแกปญหาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่อง สมบัติของธาตุและ สารประกอบ ซึ่งใชรูปแบบการเรียนรูแบบใชปญหาเปนฐานของสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา จํานวน 6 ขั้น พบวา ขั้นตอนกระบวนการแกปญหาที่นักเรียนมีความสามารถมากที่สุด คือ ขั้นกําหนดปญหา คิดเปนรอยละ 68.14 สวนขั้นตอน กระบวนการแกปญหาที่นักเรียนมีความสามารถนอยที่สุด คือ ขั้นสังเคราะหความรู คิดเปนรอยละ 52.94

Article Details

How to Cite
[1]
สุธา ภูสิทธิศักดิ์ ภ. น., “ความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร และความสามารถในการแกปญหาโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่อง สมบัติของธาตุและสารประกอบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4”, EDGKKUJ, vol. 10, no. 1, pp. 82–89, May 2017.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biography

ภูวนาท นิสัยตรง, สุธา ภูสิทธิศักดิ์, สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน