ตนแบบ “กลุมเกษตรกรชาติพันธุผูไทรวมสมัย” ที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนชุมชน ตําบลคุมเกา อําเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ

Main Article Content

ธีระชาติ จิตระวัง

Abstract

งานวิจัยเปนนวัตกรรมทางดานเกษตรและสังคม ที่มุงเนนเพื่อสรางความตระหนักตอความสําคัญของความมั่นคง ทางอาหารของคนในชุมชน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษากระบวนการสรางตนแบบกลุมเกษตรกรชาติพันธุผูไทรวมสมัยที่ เหมาะสมในการขับเคลื่อนในชุมชนตําบลคุมเกา อําเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ โดยงานวิจัยนี้ใชระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed methodology) คือ การวิจัยเชิงคุณภาพควบคูการวิจัยเชิงปริมาณ และประยุกตใชระเบียบวิธีวิจัย (Methodology) ของงาน วิจัยเพื่อทองถิ่นหรือ CBR ซึ่งมีกระบวนการวิจัย คือ (1) การประชุมแบบมีสวนรวมอยางพึงพอใจ (Appreciative Influence Control (AIC)(2) การเสวนาวางแผนอยางมีสวนรวม (3) การจัดกระบวนการเพื่อมุงเนนกระบวนการมีสวนรวม โดยเครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมขอมูล ไดแก (1) การเปดเวทีชาวบาน เวทีเสวนาทางวิชาการ (2) การสนทนากลุม (Focus group) (3) การสนทนา กลุมยอย (4) การสัมภาษณ การสัมภาษณเชิงลึก (In-depth interview) (5) การสังเกตแบบมีสวนรวม (Participative observation) ทั้งยังใชการวิจัยเชิงปริมาณ เพื่ออธิบายการเคลื่อนตัวของงานวิจัย โดยฐานคิดงานวิจัย คือ เกษตรกรลูกหลานทะหลา เกงกลา 3 ภูมิประยุกต (ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ภูมิปญญา) พอเพียงผาสุกตลอดหวงโซสายการผลิต ซึ่งผลการวิจัยพบวา กระบวนการ สรางตนแบบกลุมเกษตรกรชาติพันธุผูรวมสมัย ประกอบดวย กลุมเกษตรตนแบบและเครือขาย จุดการเรียนรู ชุดความรู ของกิจกรรม

Article Details

How to Cite
[1]
จิตระวัง ธ., “ตนแบบ ‘กลุมเกษตรกรชาติพันธุผูไทรวมสมัย’ ที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนชุมชน ตําบลคุมเกา อําเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ”, EDGKKUJ, vol. 10, no. 1, pp. 20–25, May 2017.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biography

ธีระชาติ จิตระวัง, สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาทองถิ่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาทองถิ่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม