อิทธิพลนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สีเขียวและการจัดการห่วงโซ่อุปทานสีเขียวที่มีต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ ประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ฉัตรชัย อินทสังข์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
  • นิลุบล วิโรจน์ฐิติยวงศ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

คำสำคัญ:

นวัตกรรมผลิตภัณฑ์สีเขียว , การจัดการห่วงโซ่อุปทานสีเขียว, ภาพลักษณ์องค์กร , การพัฒนาที่ยั่งยืน

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบอิทธิพลของนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สีเขียวและการจัดการห่วงโซ่อุปทานสีเขียวที่มีต่อภาพลักษณ์องค์กรและนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของธุรกิจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษา คือ ผู้บริหารอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ประเทศไทย จำนวน 336 ราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย ซึ่งผ่านการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือด้วยการทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาด้วยผู้เชี่ยวชาญและการทดสอบทางสถิติด้วยค่าอำนาจจำแนก มีค่าระหว่าง .792 - .928 และมีค่าความเชื่อมั่นระหว่าง .886 - .917 ทดสอบด้วยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค การวิจัยนี้ ใช้การวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมานด้วยแบบจำลองสมการโครงสร้าง ผลการวิจัย พบว่า แบบจำลองสมการโครงสร้างที่พัฒนาขึ้นมามีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยมีค่าความแปรปรวนร่วมเท่ากัน โดยผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้วยสถิติ X2 = 154.210, df = 94, (chi-square/df = 1.640), p-value = 0.001, GFI = 0.916, RMSEA = 0.027, SRMR = 0.016 และ CFI = 0.929 ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า นวัตกรรมผลิตภัณฑ์สีเขียวมีความสำคัญและมีอิทธิพลเชิงบวกต่อภาพลักษณ์องค์กรและการพัฒนาที่ยั่งยืน ทำนองเดียวกัน  การจัดการห่วงโซ่อุปทานสีเขียวมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับภาพลักษณ์องค์กรและการพัฒนาที่ยั่งยืน นอกจากนี้ การศึกษาแสดงว่าภาพลักษณ์องค์กรเป็นสื่อกลางในความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาที่ยั่งยืนกับนวัตกรรมผลิตภัณฑ์  สีเขียวและการจัดการห่วงโซ่อุปทานสีเขียว

References

จารุวรรณ สุภาชัยวัฒน์. (2564). การจัดการห่วงโซ่อุปทานสีเขียวอย่างยั่งยืนและผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมมันสำปะหลัง เขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในประเทศไทย. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 14(2), 61-69.

จักรกฤษ เดชพร. (2563). การรับรู้ภาพลักษณ์องค์กรด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมในมุมมองของผู้บริโภค กรณีศึกษา บริษัท อำพลฟูดส์โพรเซสซิ่ง จำกัด. ปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ฉัตรชัย อินทสังข์ และ ผุสดี นิลสมัคร. (2566). อิทธิพลสื่อสังคมที่มีต่อผลการดำเนินงานกิจการของโรงแรม ประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 14(2), 239-260.

ปพฤกษ์ บารมีอุตสาหะวาณิชกิจ. (2560). การบัญชีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม ภาพลักษณ์องค์กร การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียความอยู่รอดของกิจการ และ ความยั่งยืนขององค์กร: หลักฐานจากธุรกิจที่ได้รับการรับรองISO 14000 ในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 34(1), 27-56.

ประทานพร จันทร์อินทร์ ฉัตรชัย อินทสังข์ และสาธิยา กลิ่นสุคนธ์. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างการมุ่งเน้นการตลาดและผลการดำเนินงานกิจการ: การทดสอบภาพลักษณ์กิจการเป็นตัวแปรคั่นกลาง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 15(1), 80-91.

วรรณา ยงพิศาลภพ. (2566). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2566-2568: อุตสาหกรรมรถยนต์. ค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/

วีระยา ทองเสือ. (2566). ส่องทิศทางอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ไทย ปี 2566-2567. ค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2566, จาก https://splendor-biz.com/67135/

สุกานดา กลิ่นขจร ผุสดี นิลสมัคร และ อนิรุธ พิพัฒน์ประภา. (2565). ผลกระทบของการมุ่งเน้นการตลาดและการจัดการโซ่อุปทานสีเขียวต่อการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนของธุรกิจโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ, 9(1), 66-80.

สมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย. (2565). Member Thai Auto Parts. ค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2565, จาก https://www.thaiautoparts.or.th/

Aaker, D. A., Kumar, V., & Day, G. S. (2001). Marketing Research. New York : John Wiley Operations Research and Sons.

Abbas, J., & Dogan, E. (2022). The impacts of organizational green culture and corporate social responsibility on employees’ responsible behavior towards the society. Environmental Science and Pollution Research, 29(40), 60024-60034.

Armstrong, J. S., & Overton, T. S. (1977). Estimating nonresponse bias in mail surveys. Journal of Marketing Research, 14(3), 396-402.

Barney, J. (1991) Firm Resources and Sustained Competitive Advantage. Journal of Management,

, 99-120.

Byrne, B. M. (2013). Structural equation modeling with Mplus: Basic concepts, applications, and programming. London : Routledge.

Chan, H. K., Yee, R. W., Dai, J., & Lim, M. K. (2016). The moderating effect of environmental dynamism on green product innovation and performance. International Journal of Production Economics, 181, 384-391.

Chen, Y. S., Chang, T. W., Lin, C. Y., Lai, P. Y., & Wang, K. H. (2016). The influence of proactive green innovation and reactive green innovation on green product development performance: The mediation role of green creativity. Sustainability, 8(10), 966–978.

Cooper, D. R., & Schindler, P. S. (2006). Business Research Methods (9 th ed) Boston, MA. : McGraw-Hill Irwin.

Fornell, C., & Larcker, D. F. (1981). Evaluating structural equation models with unobservable variables and measurement error. Journal of Marketing Research, S(1), 39-50.

Geng, R., Mansouri, S. A., & Aktas, E. (2017). The relationship between green supply chain management and performance: A meta-analysis of empirical evidences in Asian emerging economies. International Journal of Production Economics, 183, 245-258.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis : A global

perspective (7th ed.) Upper Saddle River, N.J. : Pearson/Prentice-Hall.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2019). Multivariate Data Analysis. Hampshire : Cengage Learning EMEA.

Hu, L. T., & Bentler, P. M. (1995). Evaluating model fit. In: Hoyle RH, ed. Structural Equation Modeling: Concepts, Issues, and Applications. Thousand Oaks, CA : Sage.

Huang, Y. C., Yang, M. L., & Wong, Y. J. (2016). The effect of internal factors and family influence on firms’ adoption of green product innovation. Management Research Review, 39(10), 1167-1198.

Khan, S. J., Dhir, A., Parida, V., & Papa, A. (2021). Past, present, and future of green product innovation.

Business Strategy and the Environment, 30(8), 4081-4106.

Kline, R. B. (2010). Promise and pitfalls of structural equation modeling in gifted research. New York : Guilford.

Kuncoro, W., & Suriani, W. O. (2018). Achieving sustainable competitive advantage through product innovation and market driving. Asia Pacific Management Review, 23(3), 186-192.

Lavrinenko, O., Ignatjeva, S., Ohotina, A., Rybalkin, O., & Lazdans, D. (2019). The Role of Green Economy in Sustainable Development (Case Study: The EU States). Entrepreneurship and Sustainability 6(3), 1113-1126.

Le, T. T. (2022). Corporate social responsibility and SMEs' performance: mediating role of corporate image, corporate reputation and customer loyalty. International Journal of Emerging Markets, 1-26.

Li, D., Zheng, M., Cao, C., Chen, X., Ren, S., & Huang, M. (2017). The impact of legitimacy pressure and corporate profitability on green innovation: Evidence from China top 100. Journal of Cleaner Production, 141, 41–49.

Mukonza, C., & Swarts, I. (2020). The influence of green marketing strategies on business performance

and corporate image in the retail sector. Business Strategy and the Environment, 29(3), 838-845.

Nuryakin, N., & Maryati, T. (2020). Green product competitiveness and green product success. Why and how does mediating affect green innovation performance?. Entrepreneurship and Sustainability, 7(4), 3061.

Palmer, M., & Truong, Y. (2017). The impact of technological green new product introductions on firm

profitability. Ecological Economics, 136, 86-93.

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1976). On the use of content specialists in the assessment of

criterion-referenced test item validity. Tijdschrift Voor Onderwijs Research, 2, 49-60.

Sharma, V. K., Chandna, P., & Bhardwaj, A. (2017). Green supply chain management related performance

indicators in agro industry: A review. Journal of Cleaner Production, 141, 1194-1208

Singh, A., & Trivedi, A. (2016). Sustainable green supply chain management: trends and current

practices. Competitiveness Review, 26(3), 265-288.

Soewarno, N., Tjahjadi, B., & Fithrianti, F. (2018). Green innovation strategy and green innovation: The roles of green organizational identity and environmental organizational legitimacy. Management Decision, 57(11), 3061-3078.

Song, M., Peng, L., Shang, Y., & Zhao, X. (2022). Green technology progress and total factor productivity of resource-based enterprises: A perspective of technical compensation of environmental regulation. Technological Forecasting and Social Change, 174, 121276.

Sukanthasirikul, K., & Phornlaphatrachakorn, K. (2021). Product Innovation Accounting, Customer Response Capability and Market Success: An Empirical Investigation in Thailand. Journal of Asian Finance, Economics and Business, 8(10), 65–76.

Wang, C. H. (2019). How organizational green culture influences green performance and competitive advantage. Journal of Manufacturing Technology Management, 30(4), 666-683.

Wang, M., Li, Y., Li, J., & Wang, Z. (2021). Green process innovation, green product innovation and its

economic performance improvement paths: A survey and structural model. Journal of Environmental Management, 297, 113282.

Xie, Z., Liu, X., Najam, H., Fu, Q., Abbas, J., Comite, U., & Miculescu, A. (2022). Achieving financial sustainability through revenue diversification: A green pathway for financial institutions in Asia. Sustainability, 14(6), 3512.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

09/16/2024

How to Cite

อินทสังข์ ฉ. ., & วิโรจน์ฐิติยวงศ์ น. (2024). อิทธิพลนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สีเขียวและการจัดการห่วงโซ่อุปทานสีเขียวที่มีต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ ประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 16(3), 69–86. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/267124