ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คำสำคัญ:
การควบคุมภายใน , กลยุทธ์การบริหาร , หลักธรรมาภิบาล , คุณภาพรายงานทางการเงินบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาแบบจำลองสมการโครงสร้างของปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลทางตรงของปัจจัยการควบคุมภายใน ปัจจัยกลยุทธ์การบริหาร ปัจจัยหลักธรรมาภิบาลที่มีผลต่อปัจจัยคุณภาพรายงานทางการเงิน และ 3) เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลทางอ้อมของปัจจัยการควบคุมภายในและปัจจัยกลยุทธ์การบริหารที่มีผลต่อปัจจัยคุณภาพรายงานทางการเงิน โดยมีปัจจัยหลักธรรมาภิบาลเป็นตัวแปรคั่นกลาง โดยทำการเก็บข้อมูลจากผู้ประกอบการ SMEs จำนวน 397 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย และใช้สถิติการวิเคราะห์แบบจำลองสมการโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่า แบบจำลองปัจจัยการควบคุมภายใน กลยุทธ์การบริหาร และหลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โมเดลสมการโครงสร้างมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี มีมีค่าไค-สแควร์ = 137.566 ที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ p-value = 0.758
การวิเคราะห์อิทธิพลทางตรง พบว่า การควบคุมภายใน กลยุทธ์การบริหาร มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อหลักธรรมาภิบาล และคุณภาพรายงานทางการเงินยังได้รับอิทธิพลทางตรงเชิงบวกจากกลยุทธ์การบริหาร หลักธรรมาภิบาล อย่างมีมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนผลการวิเคราะห์อิทธิพลทางอ้อม พบว่า คุณภาพรายงานทางการเงินได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากการควบคุมภายในผ่านตัวแปรคั่นกลางหลักธรรมาภิบาล และยังได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากกลยุทธ์การบริหารผ่านตัวแปรคั่นกลางหลักธรรมาภิบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2564). รายชื่อนิติบุคคลจัดตั้งใหม่และเลิกปี 2564. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2564, จากhttps://www.dbd.go.th/news_view.php?nid=469412361
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2563). คู่มือเกณฑ์มาตรฐานธรรมาภิบาล. กระทรวงพาณิชย์. สืบค้นเมื่อ 2 เมษายน 2564, จาก https://www.dbd.go.th/download/article/article_20190402152234.pdf
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ด้วย AMOS. กรุงเทพฯ : สามลดา.
ไชยา ยิ้มวิไล สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ และ สุรชัย ศิริไกร. (2562). การพัฒนาความสำเร็จในการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดลำปาง. วารสารศรีปทุมปริทัศน์, 19(1), 49-64.
ดลยา ไชยวงศ์ พัชรินทร์ สารมาท และสัตยา ตันจันทร์พงศ์. (2022). ศึกษาอิทธิพลของคุณภาพของการสอบบัญชีที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างการควบคุมภายในและคุณภาพของรายงานทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 4(2), 85.
วัชรา คำอ้าย นฤนาถ ศราภัยวานิช วรพรรณ ตระการศิรินนท์ และ ดุรยา สุขถมยา. (2566). ปัจจัยที่มีต่อประสิทธิภาพการควบคุมภายในของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาของรัฐในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 11(3), 130-143.
ศิริวรรณ พลแก้ว. (2566). ผลกระทบของความรู้ด้านบัญชีภาครัฐที่ดีที่มีต่อประสิทธิภาพการจัดทำรายงานการเงินของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 15(1), 218-219.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2563). ประกาศสภาวิชาพบัญชี ที่ 48/2563 เรื่อง กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน. สืบค้นเมื่อ 28 มีนาคม 2564, จาก www.tfac.or.th.
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2562). แนวทางธรรมาภิของ ก.ล.ต. (Code of Governance). ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4 พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). รายงานภาวะเศรษฐกิจ. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2564, จาก https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=index
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2560). แผนการส่งเสริม SME ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2560-2564). ฝ่ายนโยบายและแผนส่งเสริม SME. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2564, จาก https://www.sme.go.th/th/download.php?modulekey=12
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2564). บทสรุปผู้บริหารรายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี 2564. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2564, จาก https://www.sme.go.th/upload/mod_download/download-20210922171225.pdf
สิริพรรณ์ โกมลรัตน์มงคล และ พิเชษฐ์ โสภาพงษ์. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของรัฐวิสาหกิจในประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 26(2), 46-60.
สุรพล ลอยใหม่ และไชยา ยิ้มวิไล. (2562). การนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารกิจการภาครัฐในหน่วยงานสาธารณสุขสามจังหวัดเขตภาคใต้ตอนบนของประเทศไทย. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8(2), 38 – 47.
Aigboduwa, J. E., & Oisamoje, M. D. (2013). Promoting small and medium enterprises in the Nigerian oil and gas industry. European Scientific Journal, 9(1), 244-261.
Akinwale, Y. O. (2018). Empirical analysis of inbound open innovation and small and medium-sized enterprises’ performance: Evidence from oil and gas industry. South African Journal of Economic and Management Sciences, 21(1), 1-9.
Akmeşe, H., & Gündoğan, H. (2020). The role of internal control in hotel business: a research on five-star hotels. Academic Review of Economics and Administrative Sciences, 13(2), 227-241.
Al-Khonain, S., & Al-Adeem, K. (2020). Corporate Governance and Financial Reporting Quality: Preliminary Evidence from Saudi Arabia Financial Markets. Institutions and Risks, 4(1), 109-116.
Al-Zwyalif, I. (2015). The Role of Internal Control in Enhancing Corporate Governance: Evidence from Jordan. International Journal of Business and Management, 10(7), 57-66.
Azarloo, M., Eshghiaraghi, M., Salehi, S. Y., Habibpoor, V., & Jahangiri, M. (2017). Factors Affecting Technological Entrepreneurship and Innovation in Small and Medium Enterprises (SMEs) and its Role in Countries' Economic Development. Pakistan Journal of Humanities and Social Sciences, 9(2), 197–209.
Bianchi, C., Glavas, C., & Mathews, S. (2017). SME international performance in Latin America: The role of entrepreneurial and technological capabilities. Journal of Small Business and Enterprise Development, 24(1), 176-195.
Charl de Villiers, Ruth Dimes. (2020). Determinants, mechanisms and consequences of corporate governance reporting: a research framework. Journal of Management and Governance (2021), 25, 7–26.
Cronbarch, L. J. (1990). Essential of Psychology Testing. 5thed. New York : Harper and Row Publishers Inc.
COSO. (2013). Internal Control-Integrated Framework. Retrieved on June 2, 2021, from http://www.coso.org/guidance.htm.
Diamantopoulos, A., & Siguaw, J. A. (2000). Introduction to LISREL: A guide for the uninitiated. London : SAGE Publications, Inc.
FASB. (2013). A Framework-Based Approach to Teaching Accounting Property, Plant, and Equipment. Citing computer references. Retrieved May 2, 2021, Retrieved on June 5, 2021, from https://www.scirp.org/(S(351jmbntvnsjt1aadkposzje))/reference/ReferencesPapers.aspx?ReferenceID=1496326
Gokdeniz, I., Kartal, C., & Komurcu, K. (2017). Strategic Assessment based on 7S McKinsey Model for a Business by Using Analytic Network Process (ANP). International Journal of Academic Research in Business and Social Sciences, 7(6), 342-353.
Hair, J. F., Risher, J. J., Sarstedt, M., & Ringle, C. M. (2019). When to use and how to report the results of PLS-SEM. European Business Review, 31(1), 2–24.
IFAC. (2011). Global Survey on Risk Management and Internal Control. Results, Analysis, and Proposed Next Steps, Published by the Professional Accountants in Business Committee.
Kanakriyah, R. (2016). The Effect of Using Accounting Information Systems on The Quality of Accounting Information According to Users Perspective in Jordan. European Journal of Accounting, Auditing and Finance Research, 4(11), 58-75.
Kanapickiene, R. (2008). State of internal control in Lithuanian enterprises. Economics & Management, 5(2), 47-55.
Mihaela, D., & Iulian, S. (2012). Internal Control and the Impact on Corporate Governance, in Romanian Listed Companies. Journal of Eastern Europe Research in Business & Economics (2012), 1-10.
Likert, R. (1961). New Pattern of Management. New York : McGraw-Hill.
Njeru, W. G., Awino, Z. B., & Adwet, K. (2017). Strategy Implementation: Mckinsey’s 7s Framework Configuration and Performance of Large Supermarkets In Nairobi, Kenya. Archives of Business Research, 5(6), 1-17.
Ogunyomi, P., & Bruning, N. S. (2016). Human resource management and OP of small and medium enterprises (SMEs) in Nigeria. The International Journal of Human Resource Management, 27(6), 612-634.
Peters, T. J., & Waterman, R. H. (1982). In search of excellence: Lessons from America's best-run companies. New York : Harper & Row.
Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60.
Sarapee, C., Somnuk, A., & Supit, R. (2020). The Influence of Corporate Governance Mechanism on the Integrated Financial Reporting and Investment Risk of Thai listed Companies. Entrepreneurship and Sustainability Issues. VsI Entrepreneurship and Sustainability Center, 7(4), 2818-2831.
Suyono, E., & Hariyanto, E. (2012). Relationship Between Internal Control, Internal Audit, and Organization Commitment with Good Governance: Indonesian Case. China-USA Business Review, 11(9), 1237-1245.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารการบัญชีและการจัดการ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว