ผลกระทบของการประยุกต์ใช้บัญชีบริหารและระบบไคเซ็นที่มีต่อผลการดำเนินงาน ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
คำสำคัญ:
ไคเซ็น , บัญชีบริหาร , ผลดำเนินงานบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ผลกระทบของการประยุกต์ใช้บัญชีบริหารที่มีต่อผลการดำเนินงาน (2) ผลกระทบของระบบไคเซ็นที่มีต่อผลการดำเนินงาน และ (3) ผลกระทบของการประยุกต์ใช้บัญชีบริหารร่วมกับระบบไคเซ็นที่มีต่อผลการดำเนินงาน การวิจัยทำโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้บริหารของกิจการขนาดกลางขนาดย่อมในประเทศไทย 400 กิจการ นำมาวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) การประยุกต์ใช้บัญชีบริหารมีผลกระทบเชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน (2) ระบบไคเซ็นมีผลกระทบเชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน (3) ระบบไคเซ็นโดยมีการประยุกต์ใช้บัญชีบริหารมีผลกระทบเชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ผลสรุปการวิจัยเน้นให้เห็นความสำคัญของการพัฒนาการประยุกต์ใช้บัญชีบริหารและระบบไคเซ็น และเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาการประยุกต์ใช้บัญชีบริหารร่วมกับการสร้างระบบไคเซ็นที่สามารถส่งเสริมผลการดำเนินงานของ SMEs ให้ดียิ่งขึ้น
References
คมกฤช ภาวศิทธินนท์ และสุภาภรณ์ คงสวัสดิ์. (2554). การบัญชีบริหาร: บทบาทสำคัญในฐานะเครื่องมือสำหรับผู้นำองค์กรยุคใหม่. วารสารนักบริหาร, 31(3), 125-129.
ชูศักดิ์ จรูญสวัสดิ์. (2551). การวิเคราะห์ข้อมูลและการใช้สถิติในงานวิจัย. กรุงเทพฯ : ส.เสริมมิตรการพิมพ์.
ซารีน่า ไวยสุภี. (2554). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการมีส่วนร่วมกิจกรรมไคเซ็น (Kaizen) ของพนักงาน : กรณีศึกษา บริษัท โซนี่เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัด. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ฑิชาวรรณ ผลจันทร์ สุภารัตน์ สะแกวัง และ พุทธิวัต สิงห์ดง. (2562). การใช้ทฤษฎีไคเซ็นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานภายในคลังสินค้ากรณีศึกษา บริษัท ยูเซ็น โลจิสติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด. วารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(3), 54-63.
ฐณัฐ วงศ์สายเชื้อ. (2560). การวิเคราะห์ถดถอยพหุ # ทดสอบตัวแปรกำกับ (moderator). ค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2564 จาก https://www.youtube.com/watch?v=ycj1JBwj5H0
ณัฐนรี ทองดีพันธ์ และ ปัญจพร ศรีชนาพันธ์. (2562). ความสามารถในการใช้ข้อมูลทางการบัญชีบริหารของธุรกิจในจังหวัดลำปาง. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่, 12(1),135-147.
ดนัย ปัตตพงศ์. (2559). Statistics talk: cluster analysis, knowledge management. ค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2564,จาก http://it.nation.ac.th/faculty/danai/download/statistics%20talks7.pdf
บุญญาดา นาสมบูรณ์. (2563). อิทธิพลตัวแปรสื่อกลางของกิจกรรมการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องระหว่างการบริหารการผลิตแบบญี่ปุ่นกับการลดต้นทุนในเขตนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง. วารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น : บริหารธุรกิจและภาษา, 8(1), 78-87.
ปณต พึ่งสุจริต. (2552). การดำเนินการของพนักงานบริษัท บางกอกคอยล์ เซ็นเตอร์ จำกัด ที่มีผลต่อกิจกรรมไคเซ็น.กรุงเทพฯ : มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์
ปรินทร์ ชาวไร่ และ พิเศษ ชัยดิเรก. (2563). ประสิทธิผลการนำนโยบายการปรับปรุงการทำงานอย่างต่อเนื่อง (ไคเซ็น) ไปปฎิบัติของศูนย์การค้าบลูพอร์ท อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารลวะศรี, 4(2),17-30.
พิกุล พงษ์กลาง. (2562). บทบาทของบัญชีต้นทุนต่อการบริหาร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 38(1),11-20.
เพ็ญนภา จันทร์บำรุง. (2559). ปัจจัยการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จของกิจกรรมไคเซ็น กรณีศึกษาโรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนและประกอบรถยนต์ของญี่ปุ่นแห่งหนึ่ง. กรุงเพทฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รัชดาพร ต๊ะนิล. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างเทคนิคทางการบัญชีบริหารเชิงกลยุทธ์กับผลประกอบการของโรงงานอุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.
วราภรณ์ นาคใหม่. (2557). การประยุกต์ใช้การบัญชีบริหารที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจในเขตภาคกลาง.วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
ศิราพร แซ่ตั้ง. (2561). ผลกระทบของการประยุกต์ใช้บัญชีบริหารสมัยใหม่ต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของธุรกิจ SMEs จังหวัดนครราชสีมา.นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
สมภาร วรรณรถ. (2560). การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานโดยใช้แนวคิดไคเซ็น กรณีศึกษา บริษัท วาย เอส ภัณฑ์ จำกัด. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์.
สมหวัง สีหะ. (2557). การใช้เทคนิคทางการบัญชีบริหารเชิงกลยุทธ์ของโรงงานอุตสหกรรมในจังหวัดขอนแก่น.ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สสว. (2563). รายงาน SMEs. กรุงเทพฯ : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
อนุรักษ์ รัตนสานส์สุนทร. (2552). การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางการบัญชีบริหารของธุรกิจผลิตเลนส์แว่นตา บริษัทกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อภิญญา คงวิริยะกุล ไพลิน นิลนิยม และศุทธินี ปราชญ์ศรีภูมิ. (2561). ผลกระทบของประสิทธิภาพการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางการบัญชีที่มีต่อการปฏิบัติงานที่ดีทางการบัญชีของธุรกิจเคมีภัณฑ์ในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 10(4), 1-11.
Arsoy, A. P., Bora, T., & Karabiyik, L. (2014). Effect on non financial information on financial performance: Evidence from Turkey. International review of economics and management, 2(1), 1-18.
Butterfield, E. (2016). Managerial Decision-making and Management Accounting Information. Thesis, Helsinki Metropolia University of Applied Sciences. Retrieved on Jan 12, 2021, from https://core.ac.uk/download/pdf/38135442.pdf.
Georgise, F. B., & Midaye, A. T. (2020). Kaizen implementation in industries of Southern Ethiopia: Challenges and feasibility, Cogent Engineering, 7(1), 1-25.
Gijsel, P. V. (2012). The importance of Non-financial performance measures during the economic crisis. Thesis, Tilburg University Retrieved on Jan 6, 2021, from http://arno.uvt.nl/show.cgi?fid=127357
Haider, Z. (2020). Nonfinancial Performance Measures – Why They Matter. Retrived on Jan 6, 2021, from https://cfo.university/library/article/nonfinancial-performance-measures-why-they-matter-zoheir
Imai, M. (2016). Definition of KaizenTM.Retrieved on Dec 25, 2020, from https://www.kaizen.com/what-is-kaizen.
Kamal, S. (2015). Historical Evolution of Management Accounting.The Cost and Management, 43(4), 12-19.
Kaplan, R. S., & Norton, D. P. (2001). Transforming the Balanced Scorecard from Performnace Measurement to Strategic Management: Part I. Accounting Horizons, 15(1), 87-104.
Lau, C. M. (2011). Nonfinancial and financial performance measures: how do they affect employee role clarity and performance? Advances in Accounting, Incorporating Advancesin International Accounting, 27, 286–293.
Milan, S., & Aluc, R. (2017). Performance success factors of nonfinancial performance measurement, a literature review. Thesis of Bachelor of Accounting, Erasmus University.
Mokabel, I. (2016). Importance of Managerial Accounting for a Successful Lean Transformation: A practical study at a large aerospace OEM. Doctoral dissertation, Concordia University.
Muluye, Y. (2018). The Use of Management Acoounting Practise in Managerial Decision Making, A Case Study of Selection Real Estate Companies in Addis Ababa. Master Thesis in Accounting and Finance, Addis Ababa Univesity. Retrieved on Jan 5, 2021, from http://213.55.95.56/handle/123456789/12609
Nakagawa, K. (2013). Kaizen Kaikaku Wo Keizoku Saseru Hinto. Retrieved on Jan 8, 2021, from https://www.tmng.co.jp/column/12070.
Nguyen, T.L. (2019). STEAM-ME: A Novel Model for Successful Kaizen Implementation and Sustainable Performance of SMEs in Vietnam. Hindawi Complexity,2019, 25. Retrieved on Feb 2, 2021, from https://www.hindawi.com/journals/complexity/2019/6048195/.
OJT Solutions. (2015). Toyota Shigoto no Kihon Taizen. Tokyo : Kadokawa Corporation.
Ramasamy, K. (2005). A Comparative Analysis of Management Accounting Systems on Lean Implementation. Thesis. University of Tennessee. Retrived on Feb 2, 2021, from https://trace.tennessee.edu/utk_gradthes/2300
Refmasari, V. A., & Supriyono, R. A.(2019). Effect of Non-Financial Performance towards Financial Performance Moderated by Information Disclosure. Journal of Economics Business and Accountancy Ventura, 22(2) Retrieved on May Jan 6, 2021, from https://www.journal.perbanas.ac.id/index.php/jebav/article/view/1694.
Tanahashi, H. (2010). Kaizen Visualization. Bangkok: Technology Promotion Association (Thailand-Japan).
Tanahashi, H. (2011). Kaizen Cycle for Business Strengthen. Bangkok: Kaizen Professional Co., Ltd.
Van Aken, E. M., Farris, J. A., Glover, W. J., & Letens, G. (2010). A framework for designing, managing, and improving Kaizen event programs. International Journal of Productivity and Performance Management, 59(7), 641-667.
Velez-Gonzalez, H., Pradhan, R., & Weech-Maldonado R. (2011). The role of non-financial performance measures in predicting hospital financial performance: the case of for-profit system hospitals. Journal of Health Care Finance, 38(2), 12-23.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis.3rdEd. New York : Harper and RowPublications.
Yoshihara, Y. (2012). ShigotoGaDondon Umakuiku KAIZEN no Kyoukasho. Tokyo : Chukei Shuppan.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารการบัญชีและการจัดการ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว