ผลกระทบของการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ทางการเงิน และภาวะเศรษฐกิจ ที่มีผลต่อพฤติกรรมการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล กลุ่มวัยทำงานในจังหวัดชลบุรี

ผู้แต่ง

  • สมบูรณ์ สารพัด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • นภาพร หงษ์ภักดี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • สืบพงษ์ หงษ์ภักดี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • สิทธิเดช บำรุงทรัพย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

คำสำคัญ:

การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร , ความรู้ทางการเงิน, ภาวะเศรษฐกิจ, การวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ปัจจัยความรู้ทางการเงิน และปัจจัยภาวะเศรษฐกิจที่มีผลต่อการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล โดยกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ กลุ่มวัยทำงานในจังหวัดชลบุรี จำนวน 400 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) การวิจัย พบว่า การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ทางการเงินและสภาวะเศรษฐกิจมีผลกระทบทางบวกกับการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05

References

กรณิกา วาระวิชะนี. (2560). ความรู้ทางการเงินและความอยู่ดีมีสุขทางการเงินพนักงานในสถาบันการเงิน กรณีศึกษาจากพนักงาน ธนาคารไทยพาณิชย์. การค้นคว้าอิสระ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

กิจติพร สิทธิพันธุ์. (2553). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลของประชาชนในกรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

จุฑาวิณีย์ บุญภูงา วราพร เปรมพาณิชย์นุกูล และณัฐวุฒิ ตันติเศรษฐ. (2562). ผลกระทบของการบริหารภาษีที่มีต่อความสำเร็จขององค์กรของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร, วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 11(4), 93-103

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2564). เริ่มต้นวางแผนการเงิน, ค้นเมื่อ 20 เมษายน 2564, จาก http://www.set.or.th/education/th/start/start.html,

พนมพล สุขวัฒนทรัพย์. (2563).ปัจจัยทางเศรษฐกิจและปัจจัยแวดล้อมเกี่ยวกับการออมที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมในการจัดการทางการเงินส่วนบุคคลของกลุ่มคนวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร, วารสารรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา, ค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2564, จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/SSRUJPD/article/view/248397

รักชาติ แดงเทโพธิ์ และนริศรา แดงเทโพธิ์. (2562). ผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทำงานที่มีต่อประสิทธิภาพการปฎิบัติงานนักวิชาการโสตทัศนศึกษาในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 11(4), 81-92

วิมลพร สมัครเขตรการ และปัญญา ศรีสิงห์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบการวางแผนการเงินเพื่อความมั่นคงตอนเกษียณอายุ, วารสารศิลปะการจัดการ, 4(3), 567-581

วิไล เอื้อปิยฉัตร. (2556). ความรู้ทางการเงิน: ตัวกำหนดและผลกระทบที่มีต่อพฤติกรรมการออม. รายงานวิจัยมหาวิทยาลัยบูรพา ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศิรินุช อินละคร. (2562). การเงินบุคคล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สนทยา เขมวิรัตน์ และดวงใจ เขมวิรัตน์. (2556). การวางแผนทางการเงินของบุคลากรกรกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลในเขตกรุงเทพมหานคร.

คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

สมบูรณ์ สาระพัด ศิรินุช อินละคร สิทธิเดช บำรุงทรัพย์ และชไมพร ชิณโชติ. (2562). การวางแผนการเงินส่วนบุคคลของกลุ่มวัยทำงานในจังหวัดชลบุรี. Working Paper.

สำนักงานสถิติจังหวัดชลบุรี. (2562). การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรจังหวัดชลบุรีไตรมาสที่ 4 : ตุลาคม – ธันวาคม 2562. ค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2564, จาก http://chonburi.nso.go.th/images/ruk/LFS/5._Q4-2562.pdf

Al‐Tamimi, H. A., & Kalli, A. (2009), "Financial literacy and investment decisions of UAE investors", Journal of Risk Finance, 10(5), 500-516.

Janor, H., Yakob, R., Hashim, N. A., Zanariah, Z., Wel, C. (2016). Financial literacy and investment decisions in Malaysia and United Kingdom: a comparative analysis. Malaysian Journal of Society and Space, 12(2), 106-118.

Jane, S., Sherman, D., Hanna, Tahira K. H., Angela, C. L., Palmer, L, & Xiao, J.J. (2009). Financial Literacy and Education Research Priorities. Journal of Financial Counseling and Planning, 20(1), 84-95.

Kapoor, J. R. (2014). Personal Finance (11th ed.). New York : McGraw Hill.

Keown, J. A. (2014). Personal finance: Turning money into wealth (6th ed.). Essex : Pearson Education.

Matthew, M. (2007). A Lterature Review on the Effectiveness of Financial Education. FRB Richmond Working Paper No. 07-03, 1-27.

Surendar Gade. (2018). Does Financial Literacy Influence Financial Planning? -A Study among Rural and Urban Households. Retrieved May 18, 2021, from https://www.researchgate.net/publication/343189583_Does_Financial_Literacy_Influence_Financial_Planning_-A_Study_among_Rural_and_Urban_Households

Downloads

เผยแพร่แล้ว

10/25/2021

How to Cite

สารพัด ส. ., หงษ์ภักดี น., หงษ์ภักดี ส. ., & บำรุงทรัพย์ . ส. . (2021). ผลกระทบของการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ทางการเงิน และภาวะเศรษฐกิจ ที่มีผลต่อพฤติกรรมการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล กลุ่มวัยทำงานในจังหวัดชลบุรี. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 14(1). สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/250543