Adaptation Strategies and Survival of Small and Medium Enterprises in Kalasin Province
Keywords:
Adaptation Strategies, Survival of small and medium enterprisesAbstract
The purposes of the adaptation strategies for the survival of small and medium enterprises in Kalasin province were: 1) to study the adaptation strategies of small and medium enterprises in Kalasin province, 2) to study the survival of small and medium enterprises in Kalasin province, 3) to study the relationship between the adaptation strategies and the survival of small and medium enterprises in Kalasin province, and 4) to study the impact of the adaptation strategies on the survival of small and medium enterprises in Kalasin province. The samples were the 204 enterprises having the amount of annual income not more than 500 million baht and employees not more than 200 people. The research instrument was questionnaire. The statistics used in analyzing data were percentage, mean, standard deviation, multiple correlation, and multiple regression.
The results the revealed that development of the advantages in competition and the adaptation of using technology affected the survival of the small and medium enterprises in Kalasin province in positively effect at 0.05
References
กฤษติญา มูลศรี. (2562). นวัตกรรมและการตลาดดิจิทัลที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย. MFU Connexion, 8(2), 36-62.
กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2563). สถิติโรงงานอุตสาหกรรมปี 2563. ค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.diw.go.th/webdiw/static-fac/
กิรติพงษ์ ปัญญาเรือง. (2559). กลยุทธ์ความได้เปรียบทางการแข่งขันที่มีต่อผลความสำเร็จในการดำเนินงานตามแนวคิด Balance Scorecard ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแปรรูปอาหารของจังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
คฑามาศ เหงี่ยมสมบัติ. (2561). ผลกระทบของประสิทธิภาพการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่มีต่อความสำเร็จขององค์กรธุรกิจสิ่งพิมพ์ในประเทศไทย. วารสารบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 10(2), 167-177.
ชุติมา หวังเบ็ญหมัด และธนัชชา บินดุเหล็ม. (2558). ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการประกอบการธุรกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อม (SMEs) ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 1(1), 109-124.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2550). ระเบียบวิธีการวิจัย :แนวทางปฏิบัติสู่ความสำเร็จ. กรุงเทพฯ : ยูแอนด์ไอ อินเตอร์ มีเดีย.
ปริญ ลักษิตามาศ, ศิวารัตน์ ณ ปทุม และณรงค์ อภิชาติธนากูล. (2558). กลยุทธ์การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดเมื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนสำหรับธุรกิจร้านค้าปลีกดั้งเดิมของไทย. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, 10(2), 1-10.
รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร และสุรชัย อุตมอ่าง. (2554). การบริหารความได้เปรียบทางการแข่งขันเพื่อความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจ SMEs ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ, 28(1), 49-63.
วารุณี กุลรัตนาวิจิตรา. (2560). ปัจจัยด้านนวัตกรรมทางธุรกิจส่งผลต่อการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ประเภทบริการ). การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิตา จิตรลดานนท์. (2560). ผลกระทบของกลยุทธ์การปรับตัวทางการตลาดที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 9(2), 64-75.
สุมาลี ศรีลาพัฒน์. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การเพิ่มมูลค่าสินค้ากับการอยู่รอดขององค์กรของธุรกิจ SMEs ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อัมพร นาถพิริยรัตน์. (2560). โครงสร้างองค์กรและการปรับตัวของสยามซีเมนต์กรุ๊ป (SCG) ระหว่างปี พ.ศ. 2541-2557. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 10(1), 59-82.
Hair, j. F., Jr., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis: A global perspective 7th ed. Upper Saddle River, NJ : Prentice Hall
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2021 Journal of Accountancy and Management
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว