ผลกระทบของการบริหารการขายที่มีต่อผลการดำเนินงานทางการตลาดของ ธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คำสำคัญ:
การบริหารการขาย, ผลการดำเนินงานทางการตลาด, ธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการบริหารการขายที่มีต่อผลการดำเนินงานทางการตลาดของธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และจัดส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปยังผู้บริหารธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 186 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า การบริหารการขาย ด้านการฝึกอบรมทางการตลาดด้านการดูแลทางการขายและด้านค่าตอบแทนจากผลลัพธ์ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับผลการดำเนินงานทางการตลาดของธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดังนั้น ผู้บริหารธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ควรให้ความสำคัญกับการบริหารการขาย เพื่อให้พนักงานขายเกิดความกระตือรือร้นในการปฏิบัติหน้าที่ ส่งผลให้มียอดขายที่เพิ่มสูงขึ้น และมีผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้องค์กรสามารถปรับตัวได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
References
กรมการขนส่งทางบก. (2563). ข้อมูลด้านสถิติการจดทะเบียนรถยนต์. ค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2562, จาก https://www.dlt.go.th/th/public-news/view.php?_did=2345
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2561). การจดทะเบียนธุรกิจ. ค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2562, จาก htpp://www.dbd.go.th/
จิตติมา ปฎิมาประกร. (2559). การพัฒนาและการจัดการคุณลักษณะ ทักษะการขายของนักขาย ที่ส่งผลต่อเป้าหมายของบริษัทในอุตสาหกรรมการพิมพ์ ประเภทฉลากสินค้า: กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์ มหาวิทยาลัยวิทยาลัยบูรพา.
ชนินทร สุภา. (2560). ผลกระทบของการพัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงานที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2556). ศัพท์การขายและการตลาด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน.
ฐานเศรษฐกิจ. (2563). ปีแห่งการปรับโครงสร้างบริษัทรถยนต์ทั่วโลก. ค้นเมื่อ 8 เมษายน 2563, จากhttps://www.thansettakij.com/content/417461
ณรงค์ ศรีเกรียงทอง และประสพชัย พสุนนท์. (2558). ปัจจัยแรงจูงใจที่มีผลต่อการสร้างประสิทธิผลในงานขายของพนักงานที่ปรึกษางานขาย และพนักงาน ที่ปรึกษาความงาม ของบริษัทโมเดิร์นคาสอินเตอร์เนชั่นเนลคอสเมติกส์. วารสารวิชาการฉบับมนุษย์ศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 8(2), 1564-1671.
ดาวเดือน โลหิตปุระ นิมิต จิวะสันติการ และจินตนา จันเรือง. (2564). ความสัมพันธ์ของการได้รับค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานห้างสรรพสินค้า ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง. วารสารการบริหารนิติบุคคลและวัฒนธรรมท้องถิ่น, 7(1), 225–235.
ธาดา รัชกิจ. (2562). การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Appraisal : PA) หนึ่งในเครื่องมือสำคัญขององค์กรที่ประสบผลสำเร็จ. ค้นเมื่อ 10 เมษายน 2563, จาก https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/th-evaluation-190115/
บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
พสุ เดชะรินทร์. (2550). การวัดผลการดำเนินงานทางการตลาด. ค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2562, จาก http://www.home.kku.ac.th/Knowlage/7Management/BSC_Pasu.ppt
รังสฤษฎ์ ศรีประเสริฐภาพ และบรรพต วิรุณราช. (2561). ทิศทางการสรรหาและคัดเลือกบุคลากรหลังเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และการเตรียมพร้อมรองรับไทยแลนด์ 4.0 ของภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ เขตนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร, 9(2), 103–119.
สมบัติ ท้ายคำเรือ. (2552). ระเบียบวิธีการวิจัยสำหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สรายุทธ กันหลง. (2555). การทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม Chonbach’s alpha. ค้นเมื่อ 28 มกราคม 2563, จาก http://www.ipernity.com/blog/252172/477
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). สภาวะเศรษฐกิจของไทยในไตรมาสที่สี่ทั้งปี 2562 และแนวโน้มในปี 2563. ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2563, จากhttps://www.nesdc.go.th/ewt_ dl_link.php?nid=9892&filename=QGDP_report
สุวิทย์ นามบุญเรือง. (2555). การจัดการการขาย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สุเนตร มีสุข และ รัชฎา ฟองธนกิจ. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลของการดำเนินงานขายของพนักงานขายผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ. มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา, 9(3), 7-19.
องอาจ ปทะวานิช. (2557). การส่งเสริมการขาย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แสงดาว.
Aaker, D. A., V. G. K. & G. S. D. (2001). Marketing Research (7thed.). New York : John Wiley and Sons.
Black, K. (2006). Business Statistics For Contemporary Decision Making. USA : John Wiley and son.
Chen, A., Peng, N., & Hung, K. P. (2015). Managing salespeople strategically when promoting new products – incorporating market orientation into a sales management control framework. Industrial Marketing Management, 51(1), 141–149.
Jaskari, H., & Jaskari, M. (2016). Critical Success Factors in Teaching Strategic Sales Management : Evidence from Client-Based Classroom and Web-Based Formats. Marketing Education Review, 26(3), 171–185.
Morgan, N. A. (2012). Marketing and business performance, (July 2011), 102–119. Retrieved on January 20, 2019, from https://doi.org/10.1007/s11747-011-0279-9
Morgan, N. A., Clark, B. H. & Gooner, R. (2002). Marketing productivity, marketing audits, and systems for marketing performance assessment : Integrating multiple perspectives. Journal of Business Research, 55(5), 363–375.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารการบัญชีและการจัดการ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว