ความสัมพันธ์ระหว่างการมุ่งเน้นสมรรถนะทางด้านวิชาชีพบัญชีแบบมืออาชีพ และประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักบัญชีในประเทศไทย
คำสำคัญ:
การมุ่งเน้นสมรรถนะทางด้านวิชาชีพบัญชีแบบมืออาชีพ, ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการมุ่งเน้นสมรรถนะทางด้านวิชาชีพบัญชีแบบมืออาชีพและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักบัญชีในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างคือนักบัญชีจำนวน 568 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่าการมุ่งเน้นสมรรถนะทางด้านวิชาชีพบัญชีแบบมืออาชีพ ได้แก่ 1) การตัดสินใจ 2) การวัดผลการดำเนินงาน 3) การจัดเตรียมรายงาน 4) ทักษะด้านการค้นคว้า และ 5) การใช้เทคโนโลยี มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัยแสดงให้เห็นว่านักบัญชีควรใช้มุ่งเน้นสมรรถนะทางด้านวิชาชีพบัญชีแบบมืออาชีพในการวางแผน ปรับปรุง เพื่อให้การปฏิบัติงานทำให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์. (2561). สถิติของผู้ทำบัญชี ข้อมูลผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีประจำเดือนสิงหาคม. ค้นเมื่อ 10 กันยายน 2561, จาก https://www.dbd.go.th/download/article/article_20181214143921.pdf.
กรรณิการ์ ลำลือ. (2552). คุณสมบัติของนักบัญชีที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการในจังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เกรียงไกร บุญเลิศอุทัย และดนุชา คุณพนิชกิจ. (2555). IES 2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรปริญญาตรีทางการบัญชี. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 34(134), 123-138.
จิราภรณ์ ปะจันทะสี . (2559). ผลกระทบของสมรรถนะการสอบบัญชีสมัยใหม่ที่มีต่อประสิทธิภาพการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากรในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จุไรรัตน์ ศรีสัตตรัตน์และสมยศ อวเกียรติ. (2560). ปัจจัยเชิงสาเหตุของนักบัญชีที่ส่งผลต่อความสำเร็จด้านบัญชีของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เขตภาคกลาง. วารสารมหาวิทยาลัยธนบุรี, 11(25), 137-152.
ฉัตรอมร แย้มเจริญ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษย์สัมพันธ์ จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีและประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชี: กรณีศึกษา นักบัญชีในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 1(1),55-66.
ฐิติรัตน์ มีมากและคณะ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างจรรยาบรรณและทักษะทางวิชาชีพกับประสิทธิภาพ การทำงานของนักบัญชีในสำนักงานบัญชี จังหวัดนครราชสีมา. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 7. วันที่ 23 มิถุนายน 2559. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. 653-664.
ฐิติรัตน์ มีมากและรติกร บุญสวาท. (2558). สภาพแวดล้อมในการทำงานและความรู้ความสามารถของนักบัญชีที่ส่งผลต่อคุณภาพรายงานการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs) ในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 21(1), 127-140.
ณฐา ธรเจริญกุล. (2561). สมรรถนะของพนักงานบัญชีที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการทำงาน กรณีศึกษาสถานประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 24(1), 58-70.
ธนายุ ภู่วิทยากธร. (2561). การทำงานเป็นทีมส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารในจังหวัด สุราษฎร์ธานี. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 10(2), 198-208.
ธนิษฐา ชีวพัฒนพันธุ์. (2558). สมรรถนะของพนักงานบัญชีในโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดนนทบุรีตามทัศนะของหัวหน้างานบัญชี. วารสารวิชาการคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 10(2), 141-152.
นันทนา ภูขมังและคณะ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการปฏิบัติงานทางการบัญชีกับความสำเร็จในการปฏิบัติงานของนักบัญชีสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา, วารสารคณะการบัญชีและการจัดการ, 9(4), 147-156.
นันทรัตน์ นามบุรี. (2556). การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะของนักทำบัญชีของธุรกิจอุตสาหกรรมในกรุงเทพมหานครและบริมณฑล. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 32 (4), 15-30.
บุญรวย นะเป๋า. (2556). สมรรถนะตามหลักมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีกับประสิทธิภาพในการทำงาน : กรณีศึกษา นักบัญชีธุรกิจ SMEs ในจังหวัดนนทบุรี, วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.), 2(2), 1-9.
เบญจวรรณ ตรากิจธรกุล. (2552). คุณภาพของสารสนเทศทางบัญชีที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเขตอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี. ปทุมธานี : คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ปภาวี สุขมณีและฉัตรรัชดา วิโรจน์รัตน์. (2551). ความรู้ความสามารถของนักบัญชีที่มีต่อประสิทธิผลการทำงานของนักบัญชีธุรกิจ SMEs ในจังหวัดกาฬสินธุ์. กาฬสินธุ์ : คณะเทคโนโลยีสังคม. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
ประทีป วจีทองรัตนา. (2558). ประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่มีผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้ทำบัญชี ในเขตจังหวัดนครราชสีมา, วารสารสมาคมนักวิจัย, 20(1), 85-94.
ประสพชัย พสุนันท์. (2557). การกำหนดขนาดตัวอย่างตามแนวทาง Krejcie and Morgan (1970) ในการวิจัยเชิงปริมาณ. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, 7(2), 112-119.
ปริยากร ปริโยทัยและสุภัทรษร ทวีจันทร์. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะทางวิชาชีพบัญชีกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักบัญชีในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในประเทศไทย. วารสารราชธานีนวัตกรรมทางสังคมศาสตร์, 1(2), 8-20.
พงศ์ศิรภพ ทองดีรวิสุรเกตุ. (2555). สมรรถนะของนักบัญชี : มุมมองของผู้บริหารงานสายบัญชีในเขตนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์. บัญชีมหาบัณฑิต. คณะการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
เพ็ญธิดา พงษ์ธานี. (2557). ผลของความรู้ ทักษะ คุณค่า จรรยาบรรณ และทัศนคติในวิชาชีพที่มีต่อสมรรถนะของผู้สอบบัญชีภาษีอากร. สุทธิปริทัศน์, 28(87), 95-121.
มยุรี เกื้อสกุลและ วุฒิ วัชโรดมประเสริฐ. (2558). คุณสมบัติของนักบัญชีในสถานประกอบการตามมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที่ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับงานบัญชีและนักบัญชีในสถานประกอบการต้องการ กรณีศึกษา : สถานประกอบการนิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 9(20), 49 58.
มารีนี กอราและกุลวดี ลิ่มอุสันโน. (2560). ผลกระทบของความเป็นมืออาชีพของนักบัญชีและการบริหารความเสี่ยงที่มีผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมใน 5 จังหวัดชายแดนใต้. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4 (2), 38-50.
วันวิสาห์ เดชภูมี. (2559). ทักษะทางวิชาชีพบัญชีของผู้ทำบัญชีที่ธุรกิจต้องการในเขตจังหวัดขอนแก่น. การศึกษาอิสระปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วีรยุทธ สุขมากและกนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธิ์. (2557). ความคิดเห็นของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มมูลค่าของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC). RMUTT Global Business and Economics Review, 9(1), 78-93.
ศุภมิตร พินิจการ. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะหลักกับประสิทธิภาพของนักบัญชีกรมสรรพสามิต. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สภาวิชาชีพในพระบรมราชูปถัมภ์. (2558). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (ฉบับปรับปรุง Volume 2015). ค้นเมื่อ 27 เมษายน 2562, จาก https://www.tfac.or.th/article/detail/66980.
สุพรรษา จิตต์มั่นและกรรณิการ์ ธรรมสรากูร. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะทางวิชาชีพ ความผูกพันต่อองค์กร และประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์, 11(1), 288 – 296.
อุเทน เลานําทาและนิภาพร อบทอง. (2017). ความสามารถของระบบบัญชีคอมพิวเตอร์กับความได้เปรียบด้านข้อมูลทางการบัญชีของธุรกิจชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย. WMS Journal of Management Walailak University, 6(3), 17-31.
อัมไพวรรณ หมื่นแสน. (2561). ความเสี่ยงในการสอบบัญชี กรณีศึกษา ผู้สอบบัญชีสหกรณ์ในจังหวัดเชียงใหม่. ค้นคว้าอิสระ. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary Decision-Making (4thed). USA : John Wiley & Sons.
Kaciuba, G. (2012). An instructional assignment for student engagement in auditing class: Student movies and the AICPA Core Competency Framework, Journal of Accounting Education, 30(2), 248-266.
Laksana, S. (2009). Work Efficiency Development. (6thed). Bangkok : Suan Sunandha, Rajabhat University.
Nunnally, J. C.,& Bernstein, I. H. (1994). Psychometric theory. New York : McGraw Hill.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว