ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การตลาดออนไลน์กับความสำเร็จขององค์กรของธุรกิจนำเที่ยวในประเทศไทย
คำสำคัญ:
กลยุทธ์การตลาดออนไลน์, ความสำเร็จขององค์กร, ธุรกิจนำเที่ยวในประเทศไทยบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การตลาดออนไลน์กับความสำเร็จขององค์กรของธุรกิจนำเที่ยวในประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหาร ฝ่ายการตลาดธุรกิจนำเที่ยวในประเทศไทย จำนวน 141 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า กลยุทธ์การตลาดออนไลน์ ด้านความสามารถในการเรียนรู้คู่แข่งขัน มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับความสำเร็จขององค์กร
ดังนั้น ผู้บริหารฝ่ายการตลาดธุรกิจนำเที่ยว ควรให้ความสำคัญเกี่ยวกับกลยุทธ์การตลาดออนไลน์ โดยเฉพาะความสามารถในการเรียนรู้คู่แข่งขัน เพื่อให้ธุรกิจเกิดความได้เปรียบทางการแข่งขัน อันจะส่งผลให้เกิดความสำเร็จขององค์กรต่อไป
References
กรไชย พรลภัสรชกร. (2560) การบัญชีคู่แข่งขันและผลการดำเนินงาน ทางการตลาด: การตรวจสอบเชิงประจักษ์ธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 37(4), 35-55.
นิศศา ศิลปะเสริฐ. (2560). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2549). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2555). การจัดการด้านการตลาดอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. นนทบุรี: เฟริ์นข้าหลวง พริ้นติ้งแอนด์ พับลิชชิ่ง.
เบญญา รัศมีโกเมน และ วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2559). กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ประกันชีวิตของธุรกิจประกันชีวิตสำหรับผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร. Veridian E-Journal Silpakorn University, 9(1), 1129–1142.
พสุ เดชะรินทร์. (2548). Balanced Scorecard รู้สึกในการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศูนย์วิจัยกสิกร. (2561). แนวโน้มเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวปี 2561. ค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2561, จาก https://ttaa.or.th/wp-content/uploads/2017/09/เศรษฐกิจและการท่องเที่ยว18012561.pdf
สรายุธ กันหลง. (2555). การทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม Cronbach's alpha. ค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://www.ipernity.com/blog/252172/477
สุชนนี เมธิโยธิน. (2555). กลยุทธ์เพื่อการแข่งขัน. วารสารนักบริหาร, 32(3), 127-133.
สุทธยา สมสุข. (2556). การบริหารผลิตภัณฑ์และราคา. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
สำนักงานทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์สาขากรุงเทพมหานคร. (2561). จำนวนได้แก่ ผู้บริหารฝ่ายการตลาดธุรกิจนำเที่ยวในประเทศไทย. ค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2561, จาก https://www.dot.go.th/department/ getIndexMaster/3
วสิทธิ์ สถิตวรพงศ์. (2560). “Google” เผย “สถิติ-ข้อมูล” น่าสนใจ ว่าด้วย “คนไทย” กับการ ใช้“อินเตอร์เน็ต.” มติชนสุดสัปดาห์ฉบับวันที่ 7-13 เมษายน 2560.
วิยดา พิเนตร. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารการจัดเก็บภาษีที่ดีกับความสำเร็จขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต คณะการบัญชีและการจัดการ: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อัจฉรา สุขกลั่น, เกษราภรณ์ สุตตาพงค์ และนนทิภัค เพียรโรจน์. กลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของผู้ประกอบการเกษตรอัจฉริยะ. วารสารนักบริหาร, 38(1), 91–100.
Aaker, D. A., Kumar, V. and Day, G. S. (2001). Marketing Research (7th ed.). New York: John Wiley & Sons.
Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary. USA: John Wiley & Sons.
Chathinok, K., Ussahawanitichakit, P. and Jhundra –indra, P. (2015). Social Media Marketing Strategy and Marketing Outcomes: A Conceptual Framework. Proceeding of the Academy of Marketing Studies, 15(2015), 35
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว