ผลกระทบของระบบบัญชีการเงินการคลังภาครัฐที่มีผลต่อความสำเร็จการบริหารงานของหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้แต่ง

  • มนัชญา ทองนิวัน คณะบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ณัฐวงศ์ พูนพล คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ณรัฐวรรณ มุสิก คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ระบบบัญชีการเงินการคลังภาครัฐ, ความสำเร็จการบริหารงาน, หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลกระทบของระบบบัญชีการเงินการคลังภาครัฐที่มีผลต่อความสำเร็จการบริหารงานของหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารสูงสุดฝ่ายการเงินและบัญชีของหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 59 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ระบบบัญชีการเงินการคลังภาครัฐความสำเร็จการบริหารงาน ประกอบด้วย 1) ด้านระบบบริหารงานงบประมาณ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงลบกับด้านความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน และด้านการบริหารความเสี่ยงที่ดี 2) ด้านระบบการจัดซื้อจัดจ้าง มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับด้านความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน และด้านการบริหารความเสี่ยงที่ดี 3) ด้านระบบการเงินการบัญชี มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับด้านความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน ด้านประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน และด้านการจัดสรรทรัพยากรที่ดี

References

กรมบัญชีกลาง. (2561). มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ และนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. 2561.

กรมบัญชีกลาง. (2562). หลักการและขอบเขตการดำเนินงานของระบบ GFMIS. ค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2562, จาก https://sites.google.com/site/gfmisgfmis/4-hlak-kar-laea-khxbkhet-khxng-kar-danein-ngan-khxng-rabbgfmis

กระทรวงสาธารณสุข. (2562). แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข). ค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2562, จาก http://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/strategyMOPH2019.pdf

เฉลิมชัย อุทการ. (2561). ผลกระทบของประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุที่มีต่อความสำเร็จขององค์กรของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 10(2), 79-88.

นิสา แจ่มใส. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างความเชี่ยวชาญทางการบัญชีกับผลการปฏิบัติงานของนักบัญชีโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เปรมยุดา ท้าวบุตร. (2561). ผลกระทบของการบริหารความเสี่ยงในการปฏิบัติงานทางการเงินที่มีต่อความสำเร็จในการดำเนินงานทางการเงินของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 10(1), 60-73

ปราโมช ติยานนท์. (2553). ระบบการจัดการสัญญา โดยการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.

พัชนี ตันติเศรษฐ. (2553). ผลกระทบของประสิทธิผลการประยุกต์ใช้ระบบงบประมาณที่มีต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี การบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ภิรมย์พร เยาดำ. (2559). ประสิทธิภาพของระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ในเขตพื้นที่จังหวัดระนอง. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

รจนา ผาลลาพัง. (2558). ผลกระทบของการจัดทำงบประมาณแบบมีส่วนร่วมที่มีผลต่อการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วัชราภรณ์ ลาวงค์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์กับประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วิภาวรรณ สุขสมัย. (2555). ผลกระทบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชีเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วีระศักดิ์ เครือเทพ. (2559). การบริหารงานคลังภาครัฐบนฐานความยั่งยืน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2558). การบัญชีเพื่อการวางแผนและควบคุม. กรุงเทพฯ : ทีพีเอ็น เพลส.

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2561). หน่วยบริการที่เป็นหน่วยเบิกจ่าย. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2562, จาก http://finance.moph.go.th/finance/attachfile/201812270946350.pdf

สุปราณี ศุกระเศรณี และคณะ. (2553). การบัญชีบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพ : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สิริลักษณ์ เที่ยงธรรม. (2553). การตรวจสอบภายในภาครัฐ ระดับพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Aaker, D. A., Kumar, V., & Day, G. S. (2005). Marketing Research. New York : John Wiley and Sons.

Baghersefat, M. J., Zareei, M. H., Bazkiai, M. J., & Siavorodi, R. I. (2013). Accounting Information System in Presentation Managers Required Information. Interdisciplinary Journal of Contemporary Research in Business, 4(12), 511-518.

Black, K. (2006). Business statistics : for contemporary decision making (4th ed.) : Business Statistics for Contemporary Decision Making. New York : John Wiley and Sons.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed). New Jersey : Pearson Education Inc.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric Theory. New York : McGraw-Hill.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

05/13/2020

How to Cite

ทองนิวัน ม., พูนพล ณ., & มุสิก ณ. . (2020). ผลกระทบของระบบบัญชีการเงินการคลังภาครัฐที่มีผลต่อความสำเร็จการบริหารงานของหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 12(3), 1–13. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/240356