The Relationship between Service Management Strategy and Competitive Advantage of Private Hospital Businesses in Thailand

Authors

  • ฟ้าใหม่ ห่อทรัพย์ คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • Theera Erawan Mahasarakham Business School, Mahasarakham University

Keywords:

Service Management Strategy, Competitive Advantage, Private Hospital Businesses, Thailand

Abstract

The purpose of this study is to examine the relationship between service management strategy and competitive advantage of private hospital businesses in Thailand. A self-administered questionnaire was used to collect data from 167 executives of private hospital businesses in Thailand. Data analysis techniques used in this study were mean, standard deviation, multiple correlation analysis, and multiple regression analysis. Findings revealed positive relationships between service management strategies (customer service plan, customer centric, service mind) and overall competitive advantage of private hospital in Thailand. Therefore, executives of private hospital in Thailand should focus and apply service management strategy in order to increase the sustainable competitive advantage.

References

กนกวรรณ เอ็มรัตน์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การบริการกับความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ชนินทร สุภา. (2560). ผลกระทบของการพัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงานที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ณัฐนันท์ อุนารัตน์. (2559). กลยุทธ์การบริการเชิงรุกและผลการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ธิติมา พลพวก. (2559). ผลกระทบของกลยุทธ์การบริการที่เป็นเลิศที่มีต่อความสำเร็จขององค์กรของธุรกิจโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

นันทพร ตังคณิตานนท์. (2558). ผลกระทบของกลยุทธ์การบริการเชิงรุกที่มีต่อผลการดำเนินการของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พัฒน์ภูมิ แสนศักดิ์. (2559). ผลกระทบของกลยุทธ์การบริการสมัยใหม่ที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พิมพ์ชณัฏ วิทยบูรณ์. (2557). ผลกระทบของการวางแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจ SMEs ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

มัลลิกา สุบงกฎ. (2559). การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. Veridian E-Journal, 9 (2), 1926-1927.

เมขลา วุฒิวงศ์. (2559). ผลกระทบของกลยุทธ์การบริหารจัดการคนเก่งที่มีต่อศักยภาพทางการแข่งขันของโรงพยาบาลในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ยุพิน ศิริจันทรวงศ์. (2557). ผลกระทบของการควบคุมการดำเนินงานที่ดีที่มีต่อประสิทธิภาพการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

รุ่งโรจน์ สงสระบุญ. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินงานของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 10 (22), 80.

รุจิพัชร์ เอกอัครธนาศักดิ์. (2559). ผลกระทบของกลยุทธ์การตลาดบริการที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วสันต์ โรจนกุศล. (2558). ผลกระทบของกลยุทธ์การสร้างสรรค์คุณค่าที่มีต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วสุธิดา นักเกษม. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของผู้ประกอบการธุรกิจบริการในเขตกรุงเทพมหานคร. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11 (1), 2148–2167.

วิทยา ด่านธำรงกูล. (2546). การบริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: บริษัทเธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น จำกัด.

ศิริพร ฟูบุตร. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริการเชิงรุกกับผลการดำเนินงานทางการตลาดของธุรกิจสปาในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศิริพร วิษณุมหิมาชัย. (2551). การสร้างบริการเชิงรุกสู่ความเป็นเลิศ. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 21 (1), 7-17.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2560). โรงพยาบาลเอกชน ยังโตต่อเนื่องจากลูกค้าต่างชาติ. ค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2561, จาก https://www.hfocus.org/sites/default/files/files_upload/suunywicchayksikraithy_2827-p.pdf

ศูนย์วิจัยออมสิน. (2560). ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน. ค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2561, จากhttps://www.gsb.or.th/getattachment/34b1fbf3-5b50-472a-9551-9b86f8f57bab/IN_hospital_61_detail.aspx

สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2552). ระเบียบวิธีการวิจัยสำหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุวิมล ติรกานันท์. (2551). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การปฎิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ. (2561). สถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยค้างคืน. ค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2561 https://mrd.hss.moph.go.th/display_document.jsp?id=D00000002153

อภิชาติ วาปีโส. (2556). ภาพลักษณ์องค์กรและความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อคุณภาพการบริการโรงพยาบาลเอกชนในเขตอำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีมา.วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 19 (2), 166-177.

อมรรัตน์ ตะโคดม. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่กับความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อัจจิมา อินทรวิเชียร. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการฐานข้อมูลเชิงพลวัตกับความสำเร็จของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Aaker, D. A., Kumar, V. & Day, S. (2001). Marketing Research. (7th ed). New York: John Wiley and Sons.

Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary Decision Marking. (4th ed). USA: John Wiley & Sons.

Downloads

Published

27-03-2020

How to Cite

ห่อทรัพย์ ฟ., & Erawan, T. (2020). The Relationship between Service Management Strategy and Competitive Advantage of Private Hospital Businesses in Thailand. Journal of Accountancy and Management, 12(1), 180–191. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/239943

Issue

Section

Research Articles