ผลกระทบของประสิทธิภาพการจัดการความเสี่ยงที่มีต่อความสามารถ ในการแข่งขันของธุรกิจ SMEs ในเขตภาคกลาง
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบผลกระทบของประสิทธิภาพการจัดการความเสี่ยงที่มีต่อความสามารถ ในการแข่งขันของธุรกิจ SMEs ในเขตภาคกลาง ซึ่งประสิทธิภาพการจัดการความเสี่ยงเป็นตัวแปรอิสระและเป็นตัวกำหนดความสามารถในการแข่งขัน โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารธุรกิจ SMEs ในเขตภาคกลาง เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ใช้วิธีส่งจดหมายทางไปรษณีย์ โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามที่มีเนื้อความ สมบูรณ์ทั้งสิ้น 142 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า 1) ประสิทธิภาพการจัดการความเสี่ยง ด้านความสมดุลของต้นทุนและประโยชน์ที่ได้รับและด้านการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับความสามารถในการแข่งขันโดยรวม ด้านการเป็นผู้นำด้านต้นทุน ด้านความได้เปรียบการส่งมอบมูลค่าลูกค้า ด้านคุณภาพการจัดการเวลา และด้านความได้เปรียบทางนวัตกรรม 2) ประสิทธิภาพการจัดการความเสี่ยง ด้านการป้องกันและลดความสูญเสีย และด้านการเพิ่มมูลค่าแก่องค์กร ไม่มีความสัมพันธ์และผลกระทบกับความสามารถในการแข่งขัน
References
กรมกรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2552). ฐานข้อมูลสู่ธุรกิจ. ค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2552. จาก <http://knowledgebase.dbd.go.th/dbd/FSA/filterCompany.aspx>.
จรินทร์ อาสาทรงธรรม. (2548). การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) ในมิติด้านนวัตกรรม (Innovation). นักบริหาร.
จันทนา สาขากร และคณะ. (2550). การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน. กรุงเทพฯ : ทีพีเอ็น เพรส.
โฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์. (2542). SMEs กับการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ชฎาภรณ์ เซ่งคลิ้ง. (2551). การบริหารความเสี่ยงกับการพัฒนาองค์กร. มหาวิทยาลัยทักษิณ. ค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2551. จาก < http://www.tsu.ac.th/ists/>.
ณฐพร พันธ์อุดม และคณะ. (2549). แนวทางการควบคุมภายในที่ดี. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ดนุชา คุณพนิชกิจ. (2550). การวิเคราะห์ต้นทุน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นฤมล สอาดโฉม. (2550). การบริหารความเสี่ยงองค์กร. กรุงเทพฯ : ฐานการพิมพ์.
นนทวิทย์ ภูมิสะอาด. (2549). ผลกระทบของความรู้ความสามารถทางเทคโนโลยีสารสนเทศและความรู้ความสามารถทางการประกอบการที่มีต่อศักยภาพในการแข่งขันของธนาคารในจังหวัดอุดรธานีและจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นิพนธ์ บัวแก้ว. (2547). รู้จักระบบการผลิตแบบลีน (Introduction to Lean Manufacturing). กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
พักตร์ผจง วัฒนสินธ์ และพสุ เดชะรินทร์. (2542). การจัดการเชิงกลยุทธ์และนโยบายธุรกิจ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิสิฐ ลี้อาธรรม. (2550). ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจมหภาค การเงิน การคลัง. กรุงเทพฯ : สกสค.
พรพิพัฒน์ จูฑา. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการเปิดเผยความเสี่ยงกับผลการดำเนินงานทางการเงินของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บช.ม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภัทราภรณ์ สุโข. (2548) ผลกระทบของวัฒนธรรมองค์การที่มีต่อศักยภาพการแข่งขันของวิสาสหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุภาวดี ขุนทองจันทร์. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะบรรษัทภิบาลกับศักยภาพในการแข่งขันของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2544). รายงานประจำปี 2545. กรุงเทพฯ : กระทรวงอุตสาหกรรม.
อนิรุทธิ์ ผงคลี. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพทางการตลาดกับศักยภาพในการแข่งขันของธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อิศราพล ลิ้มเพียรชอบ. (2547). การประยุกต์การบริหารความเสี่ยงในการก่อตั้งโรงงานผลิตรองเท้า. วิทยานิพนธ์ วิศวกรรมอุตสาหการ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Aaker, D. V. and others. (2001). Marketing Research. 7th ed. New York : John Wiley & Sons.
Guan, L. and others. (2006). Cost Management. 6thed. South-Western : South-Western Cengage Learning.
Linsley, P.M. and Shriver, P.J. (2005). “Examining risk report in UK public companies,” The Journal of Risk Finance. 6(4) : 292 - 305.
Lumpkin, G.T. and Gregory, G. D. (1996). Clarifying The Entrepreneurial Orientation Construct and Linking it to Performance. Academy of Management Review. 21(1) : 135-172.
Savioz, P. (2003). Technology Intelligence in Technology-based SMEs : Design and Implementation of a Concept to Identity, Collect, Analyze, Disseminate and Apply Relevant Information from a Company’s Technological Environment to Support Business Decision-making Processes. Dissertation Abstracts International.
Sohn, S.Y. and others. (2008). Optimal pricing for mobile manufacturers in competitive using genetic algorithm. Expert Systems with Applications. Search on December 20th, 2008. <http://www.sciencedirect.com>
Ussahawanitchakit, Weerachai. (2001). Resource-Base Determinants of Export Performance : Effect of ISO 9000 Certification. Doctor’s Thesis. Washington : Washington State University.
Wiklund, J. (1999). The Sustainability of The Entrepreneurial Orientation-Performance Relationship. Enterpreneurial Theory and Practice. 18(2) : 37-48.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว