ความเชื่อมั่นในระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของส่วนราชการผู้เบิกในจังหวัดภายใต้สำนักงานคลังเขต 4

ผู้แต่ง

  • สุดารัตน์ ภูสมนึก คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • จรวย สาวีถี คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • พลาญ จันทรจตุรภัทร คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ความเชื่อมั่นในระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์, ประสิทธิภาพการดำเนินงาน, ส่วนราชการผู้เบิกในจังหวัดภายใต้สำนักงานคลังเขต 4

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบความเชื่อมั่นในระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของส่วนราชการผู้เบิกในจังหวัดภายใต้สำนักงานคลังเขต 4 โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหัวหน้าส่วนราชการผู้เบิกในจังหวัดภายใต้สำนักงานคลังเขต 4 จำนวน 236 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ความเชื่อมั่นในระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ ด้านความคาดหวังในประสิทธิภาพ ด้านอิทธิพลของสังคม ด้านทัศนคติที่มีต่อการใช้เทคโนโลยี และด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการดำเนินงาน

Author Biography

สุดารัตน์ ภูสมนึก, คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบความเชื่อมั่นในระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของส่วนราชการผู้เบิกในจังหวัดภายใต้สำนักงานคลังเขต 4 โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหัวหน้าส่วนราชการผู้เบิกในจังหวัดภายใต้สำนักงานคลังเขต 4 จำนวน 236 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ความเชื่อมั่นในระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ ด้านความคาดหวังในประสิทธิภาพ ด้านอิทธิพลของสังคม ด้านทัศนคติที่มีต่อการใช้เทคโนโลยี และด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการดำเนินงาน

References

จตุชัย แพงจันทร์. (2558). Master in Security. นนทบุรี: ไอซีดีฯ.

ชลธิชา ศรีแสง. (2555). การยอมรับการใช้งานของระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์: กรณีศึกษาธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) Adulation for the use of the E-Payment System A Case Study of Ayudhya Bank Public Company Limited. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, 4(1),35–51. ค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2561, จาก http://rdi.rmutsv.ac.th/rmutsvrj/download/year4-issue1

ฐานเศรษฐกิจ. (2561). เศรษฐกิจดิจิตอล...?. บทบรรณาธิการ ปีที่ 38 ฉบับ 3340 ระหว่างวันที่ 15-77 ก.พ.2561. ค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2561, จาก http://www.thansettakij.com/content/259283

เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2558). การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ บริษัท ทริปเปิ้ล กรุ๊ป.

ปุณณมาศ วิจิตรกุลวงศา. (2559). ประเทศไทยยกระดับระบบการชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์สู่ระดับโลก: โดยปุณณมาศ วิจิตรกุลวงศา กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานคณะผู้บริหารบริษัท แอสเซนด์ กรุ๊ป จำกัด. นิตยสาร MBA Connected by PIM, มิ.ย.-ส.ค.59. ค้นเมื่อ 9 ตุลาคม 2561, จาก https://mba.pim.ac.th/zh/news/140/ประเทศไทยยกระดับระบบการชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์สู่ระดับโลก

ภัทรวดี ทองมาลา. (2558). การยอมรับระบบการจัดซื้อจัดจ้างด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ของเจ้าหน้าที่พัสดุของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2561, จาก kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/10216/1/404557.pdf

วิชชาภรณ์ เลิศสุบินรักษ์. (2561). ผลกระทบของความเป็นเลิศในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรการประปาส่วนภูมิภาคเขต 8. วิทยานิพนธ์ กจ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศศิจันทร์ ปัญจทวี. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้ระบบสารสนเทศ กรณีศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระ บธ.ม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.ค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2561, จาก http://www.graduate.cmru.ac.th/core/km_file/365.pdf

สมใจ ลักษณะ. (2547). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา.

สิงหะ ฉวีสุข และสุนันทา วงศ์จตุรภัทร. (2555). ทฤษฎีการยอมรับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศลาดกระบัง, 2(2), 1-2.

สุริยงศ์ วงศาพัฒนานันท์. (2557). ผลกระทบของการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่องที่มีต่อความสำเร็จในการทำงานของผู้สอบบัญชีภาษีอากรในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อัครเดช ปิ่นสุข. (2557). การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศคุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์ และส่วนประสมทางการตลาดในมุมมองของลูกค้าที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ (E-satisfaction) ในการจองตั๋วภาพยนตร์ออนไลน์ระบบแอพพลิเคชั่นของผู้ใช้บริการในจังหวัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2561, จาก dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/1723/3/

Aaker, D. A., Kumar, V. and Day, G. S. (2001). Marketing Research. New York: John Wiley & Sons.

Black, K. (2006). Business statistics for contemporary. USA: John Wiley & Sons.

Nunnally, J.C. and Bernstein, I. H. (1994). Psychometric Theory. New York: McGraw-Hill.

Rovinelli, R. J. and Hambleton, R. K. (1977). On the Use of Content Specialists in the Assessment of Criterion - Referenced Test Item Validity. Journal of Educational Research, 5(1), 49–60.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

10/30/2019

How to Cite

ภูสมนึก ส., สาวีถี จ., & จันทรจตุรภัทร พ. (2019). ความเชื่อมั่นในระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของส่วนราชการผู้เบิกในจังหวัดภายใต้สำนักงานคลังเขต 4. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 11(3), 93–104. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/235537