ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานที่มุ่งเน้นการตอบสนองลูกค้ากับความสำเร็จขององค์กรของสถานเสริมความงามในประเทศไทย
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานที่มุ่งเน้นการตอบสนองลูกค้ากับความสำเร็จขององค์กรของสถานเสริมความงามในประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารสถานเสริมความงามในประเทศไทย จำนวน 130 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า การบริหารงานที่มุ่งเน้นการตอบสนองลูกค้า ด้านความรวดเร็วในการให้บริการและด้านการสื่อสารกับลูกค้า
มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับความสำเร็จขององค์กร ดังนั้น ผู้บริหารสถานเสริมความงาม ควรให้ความสำคัญเกี่ยวกับการบริหารงานที่มุ่งเน้นการตอบสนองลูกค้า โดยเฉพาะความรวดเร็วในการให้บริการและการสื่อสารกับลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจในการรับบริการและเกิดความจงรักภักดีในตราสินค้าและบริการ ซึ่งส่งผลให้เกิดความสำเร็จขององค์กรต่อไป
References
กนกพรรณ นวลงาม. (2557). ผลกระทบของศักยภาพการตอบสนองลูกค้าที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมในภาคเหนือ. วิทยานิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข. (2561). จำนวนสถานพยาบาลประเภทการให้บริการด้านความงาม. ค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2561, จาก http://mrd-hss.moph.go.th/mrd/index.php
กิติยา ปลื้มจิตไพบูลย์. (2557). แนวทางการพัฒนาการบริหารลูกค้าสัมพันธ์สำหรับลูกค้าองค์กรของธุรกิจอินเทอร์เน็ต. ค้นคว้าอิสระ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
จิรประภา อัครบวร และดาวิษา ศรีธัญรัตน์. (2558). คู่มือการบริหารจัดการสู่มาตรฐานสากล. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.
ธิติมา พลพวก. (2559). ผลกระทบของการบริการที่เป็นเลิศที่มีต่อความสำเร็จขององค์กรของธุรกิจโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ปภาวิน พชรโชติสุธี. (2561). ปัจจัยลักษณะธุรกิจของผู้ประกอบการที่ส่งผลต่อกลยุทธ์การให้บริการสมัยใหม่และความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจนำเที่ยว. Veridian E-Journal Silpakorn University, 11(3), 849-865.
พสุ เดชะรินทร์. (2551). Balanced Scorecard รู้สึกในการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2553). การบริหารเชิงกลยุทธ์และกรณีศึกษา. ค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2559, จาก http://yourstrategy.blogspot.com/2010/04/blog-post_17.html
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2560). Business Trends ที่จะมาแรงในปี 2017กับโอกาสทางธุรกิจสำหรับ SME. ค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2562, จาก https://www.kasikornbank.com/th/business/sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/5BusinessTrendsOf2017.pdf
สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2552). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาสารคาม : ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สรายุทธ กันหลง. (2555). การทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม Cronbach’s alpha. ค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2563, จาก http://www.ipernity.com/blog/252172/477413.
สุรเกียรติ์ เสถียรไทย. (2561). ธุรกิจความงามพุ่งแสนล้าน “ยักษ์ใหญ่-หน้าใหม่” บุกหนัก. ค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2561, จาก http://gotomanager.com/content/ธุรกิจความงามพุ่งแสนล้าน-“ยักษ์ใหญ่-หน้าใหม่”-บุกหนัก
สุทินีกรณ์ โภชากร. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการคลินิกเสริมความงามของผู้ใช้บริการกลุ่มนักเรียนนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. ค้นคว้าอิสระ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สนอง ปัญญาฤกษ์. (2562). สื่อสารชนะใจคน 1st ed. กรุงเทพฯ : Minibear.
Aaker, D. A., Kumar, V.& Day, G. S. (2001). Marketing Research. 7th ed. New York : John Wiley & Sons.
Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary. USA : John Wiley & Sons.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสารการบัญชีและการจัดการ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว