ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นมืออาชีพของนักบัญชียุคดิจิทัลและประสิทธิภาพการดำเนินงานของกิจการห้างหุ้นส่วนจำกัดในจังหวัดยะลา

ผู้แต่ง

  • เพ็ญนภา เกื้อเกตุ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
  • ภูริชาติ พรหมเต็ม
  • วิโรจน์ ไพบูลย์เวชสวัสดิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

คำสำคัญ:

ความเป็นมืออาชีพ, นักบัญชียุคดิจิทัล, ประสิทธิภาพการดำเนินงาน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นมืออาชีพของนักบัญชียุคดิจิทัลกับประสิทธิภาพการดำเนินงานของกิจการห้างหุ้นส่วนจำกัดในจังหวัดยะลา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักบัญชีของกิจการห้างหุ้นส่วนจำกัดในจังหวัดยะลา จำนวน 181 ราย เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ซึ่งทดสอบความถูกต้องโดยผู้เชี่ยวชาญ และทดสอบความเชื่อมั่นด้วยสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคมีค่าระหว่าง 0.71-0.85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัย พบว่า ความเป็นมืออาชีพของนักบัญชียุคดิจิทัลมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิภาพการดำเนินงาน นอกจากนี้ องค์ประกอบของความเป็นมืออาชีพของนักบัญชียุคดิจิทัลมี 4 องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิภาพการดำเนินงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงิน ทักษะคุณลักษณะเฉพาะของนักบัญชี และจรรยาบรรณของนักบัญชี

References

กรรณิการ์ ลำลือ. (2552). คุณสมบัติของนักบัญชีที่พึงประสงค์ของสถานประกอบการในเขตจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สุรีวิทยาสาส์น.

พัชรินทร์ ใจเย็น, กฤษฎา มณีชัย, ธัญลักษณ์ ครึ่งธิ และณัฐวัชต์ บุญภาพ. (2560). นักบัญชีกับเทคโนโลยียุคปัจจุบัน. วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค. 3(1), 196-207.

มงคล กิตติวุฒิไกร และมนัสดา ชัยสวนียากรณ์. (2560). คุณลักษณะของบัณฑิตสาขาการบัญชีในความต้องการของสถานประกอบการในเขตจังหวัดมุกดาหาร. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 12(1), 27-37.

ลัดดาวัลย์ ยอดบัว และ กนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธิ์. (2560). ความเป็นมืออาชีพของผู้สอบบัญชีต่อคุณภาพการสอบบัญชีของสำนักงานสอบบัญชี. งานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. จังหวัดนครปฐม. 1-8.

สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2556). จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2553. คำชี้แจงข้อบังคับสภาวิชาชีพ (ฉบับที่ 19). ค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2562, จาก https://fap.or.th.a33readyplanet.net./ images/column1359010374/19.pdf.

สรัชนุช บุญวุฒิ และ ไพฑูรย์ อินต๊ะขัน. (2559). การศึกษาองค์ประกอบคุณลักษณะของนักบัญชียุคใหม่ ภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่. 9(1), 167- 177.

สมชาย นำประเสริฐชัย. (2558). การจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

สิทธิกร ด่านพิไลพร. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีกับประสิทธิภาพการทางานของนักบัญชีธุรกิจประกันวินาศภัยเขตภาคเหนือตอนบน. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยพิษณุโลก.

สุวรรณ หวังเจิรญเดช. (2004). นักบัญชีในบทบาทของ ซีเอฟโอ. Naresuan University Journal. 12(2), 51-56.

สำนักงานแรงงานจังหวัดยะลา. (2560 ). รายงานสถานการณ์และดัชนีภาวะแรงงานจังหวัดยะลา ไตรมาส 3 ปี 2560 (กรกฎาคม – กันยายน 2560). ค้นเมื่อ 10 กันยายน 2562 https://yala.mol.go.th/sites/yala.mol.go.th/files/ 6_0.pdf.

ศรีสุดา อินทมาศ. (2562). โอกาสข้ามผ่านกรอบความคิดเดิมสู่โลกใหม่สายอาชีพนักบัญชียุคดิจิทัล. ค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2562, จาก https://www.fap.or.th/upload/9414/zsBw8qK7fy.pdf.

อุเทน เลานำทา. (2562). ความสามารถด้านดิจิทัลเทคโนโลยีของนักบัญชี. วารสารเอกสารภาษีอากร. ค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2562, จาก https://www.dst.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id= 3613:ability-digital-technology-accountant&catid=29&Itemid=180&lang=th.

อุเทน เลานําทา และนิภาพร อบทอง. (2017). ความสามารถของระบบบัญชีคอมพิวเตอร์กับความได้เปรียบด้านข้อมูลทางการบัญชี ของธุรกิจชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย. วารสารการจัดการ. 6(3), 17-31.

ACCA. (2016). Professional accountants – the future. ACCA. The Association of Chartered Certified Accountants. Retrieved August 28, 2019, from https:// www.nba.nl/globalassets/projecten/ visie/professional-accountants---the-future.pdf.

ACCA. (2016). Professional accountants–the future: Generation Next. The Association of Chartered Certified Accountants. Retrieved August 17, 2019, from https:// www.accaglobal.com/content/ dam/ ACCA_Global/Technical/Future/generation-next-highlights.PDF.

Aaker, D. A., Kumar, V., & Day, G. S. (2001). Marketing Research (7th ed.). New York, NY: John Wiley and Sons.

Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary Decision Making. (4th ed.). USA: John Wiley & Son.

Bygren, K. (2016). The Digitalization Impact on Accounting Firms Business Models, Sweden. M.S. Thesis (KTH Industrial Engineering and Management), KTH Vetenskap och konst.

Frey, C.B. & Osborne, M.A. (2013). The Future of Employment: How Susceptible are Jobs to Computerization?, University of Oxford.

Gustafsson. (2015). Identitetskris och möjligheter: Digitaliseringen störtar gamla maktbalanser. Entré, ESBRI. 4(12), 12-15.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis: a global perspective. New Jerrey: Pearson Publishing.

Ibidunni, M, O., Okere, W., Ibidunni, A., Joshua, A., & Okah, E. (2018). Accounting Ethics and The Performance Of Accounting Firms in Lagos, Nigeria. J Fin Mark, 2(2), 10-16.

Kane, G. C., Palmer, D., Phillips, A. N. & Kiron, D. (2015). Is Your Business Ready for a Digital Future?. MIT Sloan Management Review, 56(4), 37-44.

Lesmana, R., & Machdar, N.M. (2015). Pengaruh Profesionalisme, Kompetensi, dan Independensi Auditor Terhadap Kualitas Audit. Jurnal Bisnis dan Komunikasi, 2(1), 33- 40.

Likert, R. (1967). The human organization: Its Management and value. New York: McGraw-Hill.

Liu, G., Yu, X., & Cheng, X. (2015). The Effects of Professional Managers' Credit on Their Work Performance: Firm Owners' Trust and Credit Identification Mechanisms. Frontiers of Business Research in China, 9(2), 192-206.

McClelland., D. C. (1973). Testing for Competence Rather than for Intelligence. American Psychologist, 28(1), 1-14.

Novianita Rulandari, S, AP, M,Si . (2017). The Effect of Supervision and Professionalism on Staff Performance at the Office of Social Affairs in East Jakarta Administrative City. International Journal of Humanities and Social Science. 7(2). 184-192.

Nunnally, J. C., & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric theory. Journal of Psychoeducational Assessment, 17, 275-280.

Rogers, M. Everett. (2003). Diffusion of innovations (5th ed.). London: Simon & Schuster.

Southern Cross University. (2016). Accounting in A Digital World. Retrieved April 27, 2019, from https://online. scu.edu.au/ accounting-digital-world.

Yamane, T. (1967). Statistics an introductory analysis (2nd ed.). New York: Harper and Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03/20/2020

How to Cite

เกื้อเกตุ เ., พรหมเต็ม ภ. ., & ไพบูลย์เวชสวัสดิ์ ว. . . (2020). ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นมืออาชีพของนักบัญชียุคดิจิทัลและประสิทธิภาพการดำเนินงานของกิจการห้างหุ้นส่วนจำกัดในจังหวัดยะลา. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 12(1), 153–166. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/225937