ปัจจัยเชิงสาเหตุ ด้านคุณภาพข้อมูลทางการบัญชี คุณภาพระบบสารสนเทศทางการบัญชี คุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์ การรับรู้คุณค่าของบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ และความพึงพอใจของผู้ใช้บัญชีอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการใช้งานบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในประเทศไทย
คำสำคัญ:
คุณภาพข้อมูลทางการบัญชี, คุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชี, คุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์, การรับรู้คุณค่าของบัญชีอิเล็กทรอนิกส์บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุ ด้านคุณภาพข้อมูลทางการบัญชี คุณภาพระบบสารสนเทศทางการบัญชี คุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งผลต่อการรับรู้คุณค่าการใช้บัญชีอิเล็กทรอนิกส์ความพึงพอใจของผู้ใช้บัญชีอิเล็กทรอนิกส์ และประสิทธิภาพการใช้งานบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในประเทศไทย ผู้วิจัยได้ออกแบบการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน ทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหาร พนักงานบัญชี ของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 800 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม นำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling : SEM) ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพข้อมูลทางการบัญชี คุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชี คุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์ มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการรับรู้คุณค่าของบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ และความพึงพอใจของผู้ใช้บัญชีอิเล็กทรอนิกส์ (2) การรับรู้คุณค่าของบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ และความพึงพอใจของผู้ใช้บัญชีอิเล็กทรอนิกส์ มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อประสิทธิภาพการใช้งานระบบบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในประเทศไทย (3) แบบจำลอง (Model) มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนี ความกลมกลืนทั้ง 6 ดัชนีที่ผ่านเกณฑ์การยอมรับ คือค่าดัชนี /df = 1.337, CFI = 1.00, GFI = 0.99, AGFI = 0.98, RMSEA = 0.021 และ SRMR = 0.021
References
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. กรุงเทพมหานคร.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2549) สถิติสำหรับงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติสำหรับบริหารและวิจัย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฐิฏิกานต์ สุริยะสาร. (2559). ผลกระทบของการประยุกต์ใช้ข้อมูลการบัญชีบริหารที่มีต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 8(2), 127-140
ณัฐณิชา ฉัตรสุวรรณ, ศรีรุ่งรัตน์ สุดสมบูรณ์ และขจิต ก้อนทอง. (2560). ผลกระทบของการบูรณาการระบบสารสนเทศทางการบัญชีที่เป็นเลิศที่มีต่อประสิทธิภาพการบริหารเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย.วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 9(1), 135-144
เยาวนุช รักสงฆ์ (2562) ผลกระทบของประสิทธิภาพระบบสารสนเทศทางการบัญชีที่มีต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 11(2), 200-213
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลลิสเรล. สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่3). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2559). กระทรวงอุตสาหกรรม .รายงาน สถานการณ์ SMEs ประจำปี 2559. ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2561 จาก www.sme.go.th
Alameen Eltoum mohamed abdalrahman.(2015). Design and Implementation of Electronic Accounting system for Sudan E-government. International Journal of Computer Science and Information Technology Research ISSN 2348-120X (online), 3(2) : 1093-1103
Aradhana, R. (2013). E - Accounting Practices of SMEs in India, International Journal of Technical Research(IJTR), 2(1) : 1-10
Azhar, S. (2015). what factors influence the quality of accounting information. Bandung. Lingga Jaya. Ijaber, 13, 3995-4014 Retrieved May 5, 2018, From https://pdfs.semanticscholar.org/edeb/50a7960fff498ff893c3e2d14bc13676c7c5.pdf.
Davis, F. (1989). Perceived usefulness, perceived ease of use, and user acceptance of information technology. MIS Quarterly, 13 (3), 319-340. Retrieved November 26, 2017, from Emerald database.
DeLone, W. H., & McLean, E. R. (2003). The DeLone and McLean Model of Information Systems Success : A Ten-Year Update, Journal of Management Information Systems. 19(4) : 9-30
Dodds, W.B., & Monroe, K.B. (1985). The Effect of Brand and Price Information on Subjective Product Evaluations. In NA - Advances in Consumer Research Volume 12(eds). Retrieved March 18, 2018, from Emerald database.
Fernando, B., António, T. (2013). Accounting Information System : Tradition and Future Directions. Procedia Technology 9 ( 2013 ) 536 – 546
Joreskog, K.G., & Sorbom, D. (1996). LISREL8 User’s reference Guide. SSI.
Khairul, A. A. (2003). Accounting Information System Satisfaction and Job Satisfaction Among Malaysian Accountants. Paper presented at the Pacific Asia Conference on Information Systems, 10-13 July 2003, Adelaide, South Australia. from Emerald database.
Krismiaji. (2010). Accounting Information System. (Issue 3) Yogyakarta, YKPN College of Management Retrieved October 5, 2017, from Google Scholar database.
Long Li. (2010). A Critical Review of Technology Acceptance Literature. Retrieved March, 30, 2018, from http://swdsi.org/swdsi2010/SW2010_Preceedings/papers/PA104.pdf.
Morse, N.C. (1953). Satisfaction in the White Collar Job. Michigan: University of Michigan. Retrieved October 5, 2017, from www.worldcat.org.
Moses, b. (2014). Quality of Accounting Information and Financial Performance of Uganda’s Public Sector American Journal of Research Communication ISSN: 2325-4076.
Ritu, T. (2016). E-accounting: the necessity of modern business. Paper presented at the International conference on Science, Technology and Management. India International center, New Delhi.
Rowley, J. (2006). An analysis of the e-service literature: towards a research agenda. Journal of Internet Research, 16(3) : 339 – 359 Retrieved October 5, 2018, from EBCSO database.
Shradha, V. (2016). E - Accounting Problem and Prospects. Retrieved January 5, 2018, from https://security.recreation.hol.es/e-accounting-problems-propects/.
Shelley, M. W.(1975). Responding to Social Change. Pennsylvania : Dowden, Hutchison. Retrieved January 5, 2018, from www.worldcat.org.
Stefanou, C. (2006). The Complexity and the Research Area of AIS, Journal of Enterprise Information Management, 19(1), 9-12.
Tony, W. (2003). Conceptualising ‘Value for the Customer’: An Attritional, Structural and Dispositional Analysis. Journal of Academy of Marketing Science Review, The Nottingham Trent University. 12,1- 42 Retrieved October 5, 2017, from http://www.amsreview.org/articles/woodall12-2003.pdf.
Yang, Z. (2001). Customer perceptions of service quality in internet based electronic commerce. Proceedings of the 30 th EMAC Conference, Bergen, 8-11.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว