The Effects of Brand Management on Marketing Competitiveness of Cosmetics Businesses in Thailand

Authors

  • Jarumas Poltongsatit * Master Student, Master of Business Administration (Marketing Management) Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
  • Sutana Boonlua อาจารย์คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • Chutima Ruanguttamanun Lecturer, Mahasarakham Business School, Mahasarakham University

Keywords:

Brand Management, Marketing Competitiveness, Cosmetics Business in Thailand

Abstract

             การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบผลกระทบของการจัดการตราสินค้าที่มีต่อศักยภาพการแข่งขันทางการตลาด
ของธุรกิจเครื่องสำอางในประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารฝ่ายการตลาด
ของธุรกิจเครื่องสำอางในประเทศไทย จำนวน 112 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ
และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า การจัดการ ตราสินค้า ด้านการรับรู้คุณภาพของตราสินค้า
และด้านการกำหนดราคาเชิงกลยุทธ์ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดโดยรวม
ดังนั้น ผู้บริหารฝ่ายการตลาดของธุรกิจเครื่องสำอาง ในประเทศไทย ควรให้ความสำคัญในเรื่องการจัดการตราสินค้า ด้านการรับรู้คุณภาพของตราสินค้า และด้านการกำหนดราคาเชิงกลยุทธ์ เนื่องจากจะทำให้ลูกค้าตระหนักถึงคุณภาพสินค้าได้ก็คือจะต้องทำให้ลูกค้ารับรู้ความน่าเชื่อถือและประสิทธิภาพการทำงานของสินค้า อีกทั้งการรับรู้คุณภาพของตราสินค้า จะมีความสำคัญมากต่อการรับรู้ของผู้บริโภค และจะสามารถกำหนดราคาของสินค้าได้อย่างเห็นได้ชัดเจน เพื่อสร้างศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดของธุรกิจเครื่องสำอางหรือกลุ่มธุรกิจที่สนใจนำไปเป็นแนวทางการพัฒนาการดำเนินกิจกรรมทางการตลาดของธุรกิจในอนาคตต่อไป

References

ปณิศา มีจินดา และศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2554). กลยุทธ์การตลาดและการวางแผน. กรุงเทพ : ธรรมสาร.

ประดิษฐ์ จุมพลเสถียร. (2547). กลยุทธ์แข่งขันทางการตลาด : ทำอย่างไรให้ชนะในสงครามการตลาด. กรุงเทพฯ :
กลยุทธ์พันธมิตรธุรกิจ.

มหาวิทยาลัยรังสิต.ค้นเมื่อ 29 กุมภาพันธ์ 2559, จาก www.jr-rsu.net/article./ ตลาดเครื่องสำอาง.

รัตนสุดา แสงรัตนา.(2552). การศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมด้านส่วนประสมทางการตลาดในการซื้อ
เครื่องสำอางค์ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

รุ่งเรือง ลิ้มชูปฏิภาณ์. (2549). การสร้างศักยภาพการแข่งขันของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ดิจิเทนต์.

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. พรบ.เครื่องสำอาง. ค้นเมื่อ 29 กุมภาพันธ์ 2559, จาก https://www.fda.moph.go.th.

ศูนย์วิจัยกสิกร. เครื่องสำอางไทยสดใส. ค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2559, จาก https://daily.khaosod.co.th

Aaker, D. A., Kumar, V, & Day, G. S. (2001). Marketing research. New York : John Wiley & Son.

Akkarawimut, K. & Ussahawanitchakit, P. (2010). The impacts of brand loyalty strategy on marketing
performance: An empirical study of garment business in Thailand. International Journal of
Business Strategy. 10(4) : 33-47

Black, K. (2006). Business statistics for contemporary decision making. USA : John Wiley & Son.

Leonidoua, L.C., Katsikeasb, C. S., & Samiee, S. (2002). Marketing strategy determinants of export
performance: A meta-analysis, Journal of Business Research. 55(1), 51-67.

Nunnally, J. C. (1987).Psychometric theory (2nd ed.). New York, NY: McGraw-Hill.

Nunnally, J. C. & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric theory. New York : McGraw – Hill.

Ramos, V & Franco, S. (2005) Impact of marketing communication and price promotion on brand
equity. Emerald Group Publishing Limited.

Downloads

Published

25-10-2018

How to Cite

Poltongsatit, J., Boonlua, S., & Ruanguttamanun, C. (2018). The Effects of Brand Management on Marketing Competitiveness of Cosmetics Businesses in Thailand. Journal of Accountancy and Management, 10(3), 264–274. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/222976

Issue

Section

Research Articles