ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพกำไรกับรายงานของผู้สอบบัญชีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
คำสำคัญ:
คุณภาพกำไร, รายงานของผู้สอบบัญชี, บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยบทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพกำไรกับรายงานของผู้สอบบัญชีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในการศึกษาครั้งนี้กำหนดให้คุณภาพกำไรซึ่งวัดด้วยคุณภาพของรายการ คงค้างตามแบบจำลอง Francis et at. เป็นตัวแปรอิสระ และรายงานของผู้สอบบัญชีเป็นตัวแปรตาม โดยข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ข้อมูลจากงบการเงินปี พ.ศ. 2555-2559 ของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอยู่ในปี 2558 จำนวน 425 บริษัท ผลการศึกษาพบว่า ผู้สอบบัญชีมีแนวโน้มที่จะแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไปค่อนข้างสูงเมื่อกิจการมีคุณภาพกำไรต่ำ นอกจากนี้ยังพบว่า ผู้สอบบัญชีมีแนวโน้มที่จะแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไปค่อนข้างสูงเมื่อบริษัทถูกตรวจสอบโดยสำนักงานสอบบัญชีขนาดใหญ่
References
จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. การค้นคว้าแบบอิสระ บัญชีมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2559). ข้อมูลสถิติสำคัญของ SET, mai, TBX. ค้นเมื่อ 31 มีนาคม,
จาก https://www.set.or.th/th/market/market_statistics.html
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2561). ข้อมูลสถิติสำคัญของ SET, mai, TBX. ค้นเมื่อ5 มกราคม 2561,
จาก https://www.set.or.th/th/market/market_statistics.html
ณัฐชานนท์ โกมุทพุฒิพงศ์. (2557). การวัดคุณภาพกำไรเพื่อการวิเคราะห์หลักทรัพย์. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 36(139), 1-18.
ธิดา อู่ทรัพย์เจริญชัย. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพกำไรกับรายงานของผู้สอบบัญชี. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะและศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2556). การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร:
ทีพีเอ็นเพรส.
วรศักดิ์ ทุมมานนท์. (2552). มิติใหม่ของงบการเงินและการวิเคราะห์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: ธรรมนิติเพรส.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2552). มาตรฐานรายงานทางการเงินและมาตรฐานการบัญชี ฉบับปรับปรุง 2552.
ค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2560, จาก https://www.fap.or.th
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2558ก). มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 700 (ปรับปรุง). ค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2560,
จาก https://www.fap.or.th
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2558ข). มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 705 (ปรับปรุง). ค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2560,
จาก https://www.fap.or.th
สัจจวัฒน์ จันทร์หอม. (2554). คุณภาพกำไรของบริษัทที่มีโครงสร้างการถือหุ้นและการบริหารงานโดยครอบครัว.
การศึกษาอิสระ บัญชีมหาบัณฑิต (การบัญชีธุรกิจแบบบูรณาการ). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
โสภา มูลสม. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพกำไรกับการเปลี่ยนแปลงการจ่ายเงินปันผลของธุรกิจกลุ่มอุตสาหกรรมเกษตร
และอาหารที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
DeAngelo, L. E. (1981). Auditor size and audit quality. Journal of Accounting and Economics, 3 (December), 183-199.
Francis, J., & Krishnan, J. (1999). Accounting accruals and auditor reporting conservatism. Contemporary Accounting
Research, 16,135-165.
Francis, J., LaFond, R., Olsson, P., & Schipper, K. (2005). The market pricing of accruals quality. Journal of Accounting
Economics, 39(4), 295-327.
Marty, B., Leone, . J., & Michael, W. (2004). An empirical analysis of auditors reporting and its association with
abnormal accruals. Journal of Accounting and Economics, 37, 139-165.
Mutchler. J. F. (1985). A multivariate analysis of the auditor’s going-concern opinion decision. Journal of Accounting
Research, 23 (Autumn), 668-682.
Richardson, S. (2003). Earning quality and short sellers. Journal of Accounting Harizons, 49-61.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว